เริ่มเข้าสู่กระบวนการจัดทำตามเอกสาร TEMPLATE

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
1.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เริ่มเข้าสู่กระบวนการจัดทำตามเอกสาร TEMPLATE

ตาม พรบ.อำนาจความสะดวก ตาม MOU ที่ตกลงกับ ปปท. ภารกิจที่อนุมัติ อนุญาต รับรองที่มีผู้ใช้บริการภายนอกนำไปใช้/ได้ประโยชน์ การใช้อำนาจที่ยึดดุลยพินิจ ขาดหลักเกณฑ์ที่มีคุณธรรมและไม่โปร่งใส เอื้อประโยชน์ การจัดซื้อจัดจ้างรายเดียว วิธีตกลงราคา เฉพาะเจาะจงที่ต้องโปร่งใส ไม่เอื้อประโยชน์ การนำทรัพย์สินไปใช้ที่มี conflicts of interest สิ่งที่ได้ = ทะเบียนข้อมูลความเสี่ยง ต้นแบบให้ทุกหน่วยงานย่อยในกรมจัดทำต่อไปให้ทั่วทั้งองค์กร

เลือกภาระงานวิกฤติจาก 15 มิติ ออกมา 3 ภาระงานย่อย เพื่อนำไปวิเคราะห์ต่อ ส่วนที่เหลือคัดออกไปอยู่ในทะเบียนความเสี่ยง = ที่มาของการวิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงเพื่อตอบโจทย์ ITA ตัวชี้วัดที่ 10

ชื่อกระบวนการพิจารณาเพื่ออนุมัติ อนุญาต แบบประเมิน 2 สถานะความเสี่ยงกระบวนการ 3 ลำดับแรกที่สำคัญ นำผลจากหน้า 2 เฉพาะ 3 ลำดับในแต่ละด้านมาทำการประเมินความเสี่ยงจากความเกี่ยวข้อง สีส้ม คือ แหล่งความเสี่ยงมาจากหลายหน่วยงานภายใน สีแดง คือ แหล่งความเสี่ยงมาจากภายนอกด้วย ชื่อกระบวนการพิจารณาเพื่ออนุมัติ อนุญาต เขียว เหลือง ส้ม แดง 1A. 4A คำอธิบาย เจ้าภาพหลัก รอง ความเสี่ยงระดับควบคุมตนเอง ความเสี่ยงระดับหน่วยงาน หลายหน่วยงานภายใน √ ภายนอก ข้ามองค์กร 2A. 3A คำอธิบาย   3A. 5A นำภาระงานวิกฤติจาก 3 ภาระงานย่อยต่อประเด็น นำไปวิเคราะห์สถานะความเสี่ยง เรียงลำดับความเสี่ยงสำคัญ และแยกแยกปัจจัยเสี่ยงเกี่ยวกับภายใน และภายนอก ปัจจัยภายใน ใช้แผนควบคุมภายใน ปัจจัยภายนอก ใช้แผนบริหารความเสี่ยง = ที่มาของการวิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงเพื่อตอบโจทย์ ITA ตัวชี้วัดที่ 10

ชื่อกระบวนการพิจารณาเพื่ออนุมัติ อนุญาต   ชื่อกระบวนการพิจารณาใช้อำนาจ หน้าที่ (ไม่อิงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข กติกา) 1B. 2B. 3B. ชื่อกระบวนการพิจารณาเพื่อบริหารงบประมาณ ทรัพย์สิน ทรัพยากร 1V. 2C. 3C.

คัดสีเหลืองและเขียวออกไป เป็น SELF-CONTROL หากผิด = บกพร่อง แบบประเมิน 3 SCORING ทะเบียนข้อมูลที่ต้องเฝ้าระวัง ๒ มิติ(ตารางเมทริกส์ระดับความเสี่ยง (Risk level matrix)) ตามกรอบของ ปปท. ชื่อกระบวนการพิจารณาเพื่ออนุมัติ อนุญาต ระดับความจําเป็นการเฝ้าระวัง 2562 3 2 1 ระดับความรุนแรง ผลกระทบ ค่าความเสี่ยงรวม จําเป็น X รุนแรง 3A คำอธิบายภาระงานวิกฤติ สถานะ ส้ม 3 ตลอดเวลา ทุกครั้งที่ปฏิบัติ 1=ภายใน ภายนอกไม่เกี่ยว 3x3 =9 high สูงทุกครั้งที่เกิด 5A คำอธิบายภาระงานวิกฤติ สถานะ แดง 1 ไม่เกิดในปี 62 หรือน้อยครั้ง 1x3 =3 low ต่ำทุกครั้งที่เกิด 3A. คำอธิบายภาระงานวิกฤติ สถานะ แดง   2 เกิดได้ แต่ไม่ต้องตลอดเวลา 2x3 =6 medium นำภาระงานวิกฤติจาก 3 ภาระงานย่อยต่อประเด็น ที่วิเคราะห์สถานะความเสี่ยงแล้ว เฉพาะส้ม และแดง คัดสีเหลืองและเขียวออกไป เป็น SELF-CONTROL หากผิด = บกพร่อง ค่าความเสี่ยงรวมสูง = ต้องจัดการในปี 2562 โดยเฉพาะ ค่า 9 6 4 = ที่มาของการวิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงเพื่อตอบโจทย์ ITA ตัวชี้วัดที่ 10 และ ปปท.

ชื่อกระบวนการพิจารณาเพื่ออนุมัติ อนุญาต ค่าความเสี่ยงรวม จากประเมิน 3 คุณภาพการควบคุม ดี พอใช้ อ่อน 1A.   3x3 =9 สูง ดี 2A. 2x2 =4 ปานกลาง พอใช้ 3A. 2x3 =6 ปานกลาง/สูง อ่อน ค่าความเสี่ยงรวมสูง = ต้องจัดการในปี 2562 โดยเฉพาะ ค่า 9 6 4 ค่าความเสี่ยง 6 9 ถือว่าระดับสูง ค่าความเสี่ยง 4 6 ถือว่าปานกลาง ประเมินความสามารถจัดการความเสี่ยง ว่า ดี พอใช้ หรือ อ่อน หากดีต้องไม่ผิดพลาด ไม่เกิดเรื่อง สกัดได้ทันท่วงทีเสมอ = ที่มาของการวิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงเพื่อตอบโจทย์ ITA ตัวชี้วัดที่ 10 และ ปปท.

คุณภาพการจัดการความเสี่ยง ค่าประเมินการควบคุมความเสี่ยงการทุจริต  ต่ำ 1/2/3 ปานกลาง 4/6 ภายในแต่สำคัญ สูง 6/ 9 มีภายนอกเกี่ยว   ดี จัดการได้ทันทุกครั้งก่อนเสียหาย (1) (2) (3)  3A , 2C =6/9 พอใช้ จัดการได้ส่วนใหญ่ บางส่วนไม่ได้ (4) (5) 1C = 4/6 (6) 5B =6/9 อ่อน ยังจัดการไม่ได้ส่วนใหญ่ หรือไม่มีแนวทางเป็นระบบ (7) (8) 2B 4A =4/6 (9) 2C =6/9 ค่าความเสี่ยงรวมสูง =ต้องจัดการปี 2562 (ค่า 9 6 4) ค่าความเสี่ยง 6 9 ถือว่าระดับสูง และ 4 6 ถือว่าปานกลาง ประเมินความสามารถจัดการ ดี = เพียงพอ พอใช้/อ่อน = ไม่เพียงพอ ต้องทำแผนเพิ่มเติม= ช่อง 5 6 8 9 = ที่มาของการจัดทำแนวทางการจัดการความเสี่ยงเพื่อตอบโจทย์ ITA ตัวชี้วัดที่ 10 และ ปปท.

แนวทางการจัดทำแผน - แบบประเมิน 5 ระบุทางเลือกแนวทางจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงทุจริตระดับองค์กร เลือกภาระงานวิกฤติที่ค่าผลประเมินความเสี่ยงสูงที่สุด + ระดับจัดการพอใช้หรืออ่อนทุกภาระงานจากช่อง 5 6 8 9 แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่เลือก ทางเลือกที่ 1 แผนการควบคุมภายในด้านความเสี่ยงระดับองค์กร (ทุกหน่วยงานต้องทำ) ทางเลือก 2 แผนการจัดการ- กรณีมองความเสี่ยงทุจริตเป็นสถานการณ์วิกฤติ ที่ออกสู่สังคม สื่อ โซเชียล และต้องตอบโต้ แก้ไขทันที ทางเลือกที่ 3 แผนเพิ่มเติมเครื่องมือการควบคุมความเสี่ยงทุจริต ทางเลือกที่ 4 การกำกับและควบคุมใช้หลักการ The Three Lines of Defense ลำดับ เรียงลำดับความเสี่ยง แนวทางที่เลือกจัดการ 1  รหัสของภาระงาน A B C  แนวทางที่ X 2 3 4   5 8

สรุปประเด็นที่ได้จากการสัมมนา ประเด็นที่ดำเนินการ สิ่งที่หน่วยงานพัฒนา ดำเนินการต่อ ส่วนของ ศปท.กระทรวง 1.สรุปความรู้เกี่ยวกับแนวคิดด้านทุจริต รวบรวมเอกสารบรรยาย ขึ้น KM องค์กร รวบรวมคู่มือ พรบ. ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องให้ครบ สร้าง KM Banner จากเอกสารประกอบบรรยาย 2.นำประสบการณ์กรอกแบบประเมิน 1-5 กระบวนการอนุมัติ อนุญาต กระบวนการใช้อำนาจ ตำแหน่งหน้าที่ ไม่มีเกณฑ์ กระบวนการใช้งบประมาณ หรือทรัพย์สิน นำไปถอดกลับเป็นคู่มือการประเมินความเสี่ยงทุจริต รองรับ ITA ตัวชี้วัด 10 ปปช. เพิ่มนิยามผลกระทบที่สูง กลาง ต่ำ 3 2 1 ให้ชัด เพิ่มนิยามสี ส้ม แดง ให้ชัดเจน 2.1 กำหนดประเด็นความเสี่ยงทุจริต 3 ด้าน ให้หน่วยงานย่อยต้องเลือกไปทำการประเมินความเสี่ยงในระหว่างทำแผนการควบคุมภายใน ให้แนวทางหน่วยงานนำผล workshop กลับไปพัฒนาเป็นคู่มือประเมินความเสี่ยงทุจริตภายใน ขอสำเนาคู่มือที่พัฒนาใช้ 3.นำประสบการณ์การกรอกแบบทางเลือก ส่งให้ ก.คลัง ผ่าน ก.คมนาคม ตาม พรบ.วินัยการเงินการคลัง มาตรา 79 ส่งให้หน่วยงานทำ ITA ของ ปปช. /ปปท. ส่งให้หน่วยงานทำแผนบริหารความเสี่ยง นำไปพัฒนาเป็นแผน 3.1 แผนการควบคุมภายใน เป็นแผนพัฒนากิจกรรมควบคุมการต่อต้าน/ป้องกันทุจริต พร้อมกรอบเวลา ผู้รับผิดชอบ แยกตามฟอร์ม 3.2 แผนบริหารความเสี่ยง เป็นแผนเฝ้าระวังและสอดส่องความเสี่ยงทุจริตเฉพาะเรื่อง พร้อมกรอบเวลา ผู้รับผิดชอบ แยกตามฟอร์ม ให้แนวทางการนำผลการกรอกไปพัฒนาต่อยอดเป็นแบบฟอร์มแผนพร้อมกรอบเวลา ผู้รับผิดชอบ การอนุมัติจากหัวหน้าหน่วยงาน นำส่ง ศปท.

ประเด็นที่ดำเนินการ สิ่งที่หน่วยงานพัฒนา ดำเนินการต่อ ส่วนของ ศปท.กระทรวง เรื่องที่ต้องทำแผนควบคุมภายใน/ แผนบริหารความเสี่ยง ต้องทำในข้อที่อยู่ในกรอบ ช่อง 5 6 8 9 ทั้งหมด กำหนดเวลาทำให้ชัดเจน แยกที่สำคัญในปี 2562 คือคะแนน 9 และ 6 ทำให้ครอบคลุม 3 ด้าน อนุมัติ อนุญาต การใช้อำนาจ/ดุลยพินิจ การบริหารงบประมาณ/ทรัพย์สิน กำหนดกรอบการทำแผนต่อต้านทุจริต ให้ชัดว่า อยู่ในกรอบ ช่อง 5 6 8 9 ทั้งหมด กำหนดเวลาทำให้ชัดเจน นำส่งตารางเวลาการทำให้ ศปท.ทราบ 4. การติดตามผลดำเนินงานตามแผน ใช้แบบฟอร์มแยกตามผู้กำกับ 4.1 แบบของ ก.คลังตาม พรบ.วินัยการเงินการคลัง 4.2 แบบตาม ปปช. ตามกรอบ ITA 4..3 แบบตาม ปปท. กำหนดแบบรายงานความคืบหน้าและผลดำเนินงานรายไตรมาส รายปีแล้วแต่หน่วยงานกำกับ 5.รายงานสถานะความเสี่ยงทุจริตที่หลงเหลือ ณ สิ้นปี เพื่อพัฒนาต่อไป เหตุการณ์ความเสี่ยงที่เกิดจริงระหว่างปี ระบุความเสี่ยงที่หลงเหลือที่ต้องจัดการเพิ่มเติมในปีต่อไป กำหนดแบบรายงานสถานะความเสี่ยงทุจริต กำหนดการรายงานเหตุการณ์ที่เกิดจริง