ความหมายของประวัติศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนามหายาน
Advertisements

สู่วันข้างหน้า ด้วยวิถีความพอเพียง
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
1. ก่อนหน้าที่จะมีคำว่าประวัติศาสตร์ เรื่องราวในอดีตของไทย จะถูก
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย.
จัดทำโดย นาย พิริยะ รุ่งรอด ปวช.1 แผนก คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี
กระบวนการของการอธิบาย
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
ธนาคารออมสิน.
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
โดย ครูสมจินตนา เทียมวิไล
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
โยฮันเนส เคปเลอร์.
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
หลุยส์ ปาสเตอร์.
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
ศาสนาเชน Jainism.
ยิ้มก่อนเรียน.
Part 1 - Jesus Reveals the Father
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
เพลง ปลุกใจ บ้านเรารู้ได้จักเพลงประเภทนี้ในรูปแบบสากลเป็นครั้งแรก ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อ ครูฝึกทหารวังหน้าชาวอังกฤษ.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
“ครอบครัว สุขสันต์ ช่วยกันเก็บออม”
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายของ ประวัติศาสตร์ โดย วรพร พรหมใจรักษ์ ครูชำนาญการพิเศษโรงเรียนสงวนหญิง

ความหมายของประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ (History) คือ วิชาที่ศึกษาถึงเรื่องราวในอดีตของมนุษยชาติ ที่มีความสำคัญ ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือสมัยใดสมัยหนึ่ง ซึ่งนักประวัติศาสตร์ต้องใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้า โดยคำนึงถึงมิติเวลา และความสำคัญที่เรื่องราวนั้นๆ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคม ซึ่งนักประวัติศาสตร์จะต้องอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นนั้นได้อย่างมีเหตุผล และถูกต้องตามความเป็นจริง โดยผ่านกระบวนการไต่สวน ค้นคว้า พิจารณา วิเคราะห์อย่างละเอียดถี่ถ้วนและไม่มีอคติ (unbias)

แนวคิดเกี่ยวกับความหมายของประวัติศาสตร์ โรบิน ยอร์ช คอลลิงวูด (Robin George Collingwood) ให้ความหมายว่า “ประวัติศาสตร์ คือศาสตร์ที่ว่าด้วยความพยายามที่จะตอบคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีต” (Bobin George Collingwood, 1959:9)

แนวคิดเกี่ยวกับความหมายของประวัติศาสตร์ โรเบอร์ต วี.แดเนียลส์ (Robert V.Daniels) อธิบายว่า “ประวัติศาสตร์คือความทรงจำว่าด้วยประสบการณ์ของมนุษย์ ซึ่งถ้าหากถูกลืมหรือละเลย ก็เท่ากับว่าเราได้ยุติแนวทางอันบ่งชี้ว่าเราคือมนุษย์” (โรเบอร์ต วี. แดเนียลส์ แปลโดย ธิดา สาระยา, 2520:1)

แนวคิดเกี่ยวกับความหมายของประวัติศาสตร์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ให้ความหมายว่าประวัติศาสตร์คือ “การศึกษาความเป็นมาของมนุษยชาติหรือสังคมใดสังคมหนึ่งตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน ถึงอนาคต โดยอาศัยวิธีการที่เป็นที่รู้จักกันว่าวิธีของประวัติศาสตร์ (historical method) (นิธิ เอียวศรีวงศ์,2519:111 )

ความเป็นมาของ “ประวัติศาสตร์” คำว่า “ประวัติศาสตร์” มีความหมายมาจาก “History” ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมาจากคำว่า Histori ในภาษากรีก ที่มีความหมายถึงการค้นคว้า การไต่สวน เพื่อเข้าใจความเป็นมาของมนุษยชาติ การค้นคว้าเหล่านี้จะกระทำโดยอาศัยเอกสาร หรือหลักฐานที่หลงเหลืออยู่ ทำให้เข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีต ตลอดจนกำเนิดของโลก และสิ่งอื่นๆที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งแวด-ล้อมของมนุษย์ ซึ่ง เฮโรโดตุส (Herodotus, 484-425 ก่อนคริสต์กาล) บิดาของวิชาประวัติศาสตร์แห่งโลกตะวันตก เป็นผู้ใช้วิธีการศึกษาแบบนี้เป็นคนแรก

ความเป็นมาของ “ประวัติศาสตร์” จากนั้น เลโอโปล ฟอน รันเก (Ranke) ได้นำเอาวิธีการนี้ไปพัฒนาเป็น วิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical method) เพื่อการศึกษาที่เป็นระบบยิ่งขึ้น สำหรับบิดาของประวัติศาสตร์ในโลกตะวันออก โดยเน้นที่จีนคือ ซือหม่าเชียน ผู้เขียน “สื่อจี้” หรือบันทึกประวัติศาสตร์ซึ่งเป็นเรื่องราวตั้งแต่จีนโบราณจนถึงรัชสมัยจักรพรรดิฮั่นอู่ตี้แห่งราชวงศ์ฮั่น

ความเป็นมาของ “ประวัติศาสตร์”ในประเทศไทย ในประเทศไทย เริ่มใช้คำว่า “ประวัติศาสตร์” ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวใน พ.ศ. 2495 เนื่องจาก คำว่า “ตำนาน” (Legend) ที่ใช้กันมาแต่เดิมนั้นมักจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติของท้องถิ่นหรือบุคคลในท้องถิ่นซึ่งมี ลักษณะที่แต่งเติมเกินกว่าความเป็นจริง และคำว่า “พงศาวดาร” (Choronicle) ซึ่งจะจำกัดอยู่เฉพาะเรื่องราวของสถาบันพระมหากษัตริย์ มิได้ครอบคลุมการศึกษาเรื่องราวในอดีตอย่างแท้จริง ผู้ที่ได้รับการยกย่องเป็นพระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทยคือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

ความสำคัญของประวัติศาสตร์ ความรู้ทางประวัติศาสตร์ จะมีค่าก็ต่อเมื่อใช้ในการดำเนินชีวิตได้ ซึ่งก็ไม่ได้หมายความถึงการหาประโยชน์ของการเมืองในแต่ละกรณี แต่หมายถึงการวิจัยสภาพการณ์ปัจจุบัน โดยศึกษาสภาพการณ์ในอดีตอย่างถี่ถ้วน หน้าที่ดังกล่าวนี้คือหน้าที่ทางสังคมของวิชาประวัติศาสตร์ การศึกษาประวัติศาสตร์ จึงมิใช่เป็นไปเพื่อความเข้าใจสังคมในอดีตด้านเดียว แต่เพื่อเข้าใจสังคม “ทั้งหมด” หรือ total History ทีเดียว (Heinrich A.Winkler อ้างใน นาฏวิภา ชลิตานนท์ ,2524)

ข้อจำกัดของประวัติศาสตร์ 1. ประวัติศาสตร์เป็นเรื่องราวในอดีตของมนุษย์ 2. ประวัติศาสตร์ไม่เคยซ้ำรอย 3. ประวัติศาสตร์มีทั้งข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง (fact) และความคิดเห็น (truth)

หน้าที่ของนักประวัติศาสตร์หรือผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ ศึกษาค้นคว้าเหตุการณ์ประวัติศาสตร์อย่างละเอียด ถี่ถ้วน ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์และอธิบายเหตุการณ์นั้นอย่างตรงไปตรงมา โดยปราศจากอคติ (bias)