(ร่าง) แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิกฤตเศรษฐกิจยุโรป นางสาวธณัฏชา ชลายนนาวิน
Advertisements

Integrity and Transparency Assessment Part 1 การประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ภาค1)
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ปี 2558 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 5 สิงหาคม 2558 วันที่ 5 สิงหาคม 2558 ณ.
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ( ร้อยละ 60) ระดับความสำเร็จใน การบรรลุเป้าหมาย  KPI 1. : ระดับกระทรวง และกรม มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการ ให้บริการ ( ร้อยละ 10)
โดย มณเฑียร ม่วงศรีศักดิ์. เขต สุจริต สพฐ. ใส สะอาด.
Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ.
บริษัท จำกัด Logo company
ร่าง ปี 2562 (ณ 8 ก.ย. 60) 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
L I O รายงานผลการดำเนินงาน ประจำเดือนมกราคม 2555
สรุปผลการดำเนินงาน PMQA
Office of The National Anti-Corruption Commission
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การปรับฐานความคิดเป็นคนดีต่อต้านการทุจริต
แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
เราคนคลัง รู้เท่าทันผลประโยชน์ทับซ้อน โดย.. นายพิเศษ นาคะพันธุ์
การคำนวณต้นทุนผลผลิต สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา กระทรวงสาธารณสุข
การขนส่งสารเคมี และ อุบัติเหตุจากการขนส่ง
บริษัท จำกัด Logo company
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment: ITA Online) ประจำปีงบประมาณ.
ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ITA การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
กฎหมายการศึกษาไทย.
20 ปี ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก 1 เสริมสร้างธรรมาภิบาล
ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ระเบียบวาระการประชุม วันพุธที่ ๒๗ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑
นำแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด มาทบทวน
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
การประชุมชี้แจงรายละเอียดการตอบคำถาม/ค่าคะแนน แบบสำรวจเชิงประจักษ์ ( Evidence-based – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วันพุธที่
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี(ต่อ)
การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นายรณกฤต อุดมสุขโกศล.
การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
ITA Integrity and Transparency Assessment
ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.
Click to edit Master title style
มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลด้านคุณธรรมและความโปร่งใส
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับอำเภอรอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561 อำเภอเมืองอ่างทอง วันที่ 11 มิถุนายน 2561.
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
สรุปงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน และ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินจำนวน 3 แห่ง
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานของภาครัฐ
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflicts of Interest: COI)
การมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ
Happy work place index & Happy work life index
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
การปลูกฝังวิธีคิด ไม่โกง ไม่ทนอย่างยั่งยืนด้วยหลักสูตร
COLOR INDEX : กำหนดกลุ่มเป้าหมายเพื่อการสำรวจหาความต้องการ START HERE
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การประเมินราคา (Cost estimation).
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
จารย์เวิน.
สมชาย ละอองพันธ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(ร่าง) แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ หน่วยงานเจ้าภาพ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หน่วยงานอิสระของรัฐ ……… ลบ. งบประมาณปี พ.ศ. 2562 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 6. ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ แผนฯ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย 61 62 63 64 44   47 50  >50 65 66 67 68 69    55 70 71 72 73 74  60 75 76 77 78 79  65 เป้าหมายแผนฯ 12 เป้าหมายที่ 3 เพิ่มคะแนนดัชนีการรับรู้ การทุจริตให้สูงขึ้น ตัวชี้วัดเป้าหมาย แผนฯ 12 3.1 ระดับคะแนนของดัชนีการรับรู้การทุจริตสูงกว่าร้อยละ 50 เมื่อสิ้นสุดแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์จัดสรร งปม. ปี 62 6. ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ 6.4 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผลสัมฤทธิ์ /Impact ภาคราชการมีการป้องกัน ปราบปรามการทุจริต ประพฤติมิชอบดีขึ้น เป้าหมายแผน บูรณาการ/Outcome 1. สังคมไทยมีภาพลักษณ์การป้องกันและปราบปรามการทุจริตดีขึ้น ตัวชี้วัดเป้าหมายแผนบูรณาการ 1.1 ประเทศไทยได้รับการประเมินค่าดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) สูงกว่าร้อยละ 47 1.1.1 ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก ให้มีความซื่อสัตย์สุจริต เจ้าภาพ : สำนักงาน ก.พ. / สำนักงาน ป.ป.ช./กระทรวงศึกษาธิการ 1.1.2 ป้องกันการทุจริตเชิงรุก เจ้าภาพ : สำนักงาน ก.พ.ร. / สำนักงาน ป.ป.ท./สำนักงาน ป.ป.ช. 1.1.3 ปราบปรามการทุจริต เจ้าภาพ : สำนักงาน ป.ป.ช. / สำนักงาน ป.ป.ท. แนวทาง 1.1.1.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมเข้ามามีส่วนร่วมในการผลักดันให้เกิดสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมสร้างความตระหนักรู้ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต มีค่านิยมร่วมต้านทุจริต มีจิตสำนึกสาธารณะ และสามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ร้อยละ 80 1.1.2.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ร้อยละของหน่วยงานมีการจัดทำมาตรการ/แนวทางตามแผนแม่บทบูรณาการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560–2579) แล้วเสร็จ ร้อยละ 100 1.1.2.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ค่าคะแนนเฉลี่ยการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงาน (ITA) ปี 2562 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 (ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ) 1.1.2.3 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ บุคคลและองค์กรธุรกิจที่มีการให้สินบนหรือถูกเรียกสินบนโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐในปีที่ผ่านมาลดลง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 1.1.3.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ร้อยละของเรื่องกล่าวหาร้องเรียน ดำเนินการแล้วเสร็จตามเป้าหมาย ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - จำนวนเรื่องกล่าวหาร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตและประพฤติมิชอบของภาครัฐลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 10 ตัวชี้วัดแนวทาง ห่วงโซ่คุณค่า ต้นน้ำ พัฒนาหลักสูตรกำหนดกระบวนการคิด กลางน้ำ การดำเนินการเพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กร ปลายน้ำ สร้างความร่วมมือและเครือข่าย ต้นน้ำ พัฒนาวิเคราะห์วางระบบกลไก กลางน้ำ การเพิ่มประสิทธิภาพกลไก สู่การปฏิบัติ ปลายน้ำ ลดการทุจริตในตำแหน่ง หน้าที่และสินบนทุกรูปแบบ ต้นน้ำ ปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินคดี กลางน้ำ เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินคดี ปลายน้ำ สื่อสารการรับรู้ผลของคดี โครงการ/กิจกรรม ภาคราชการ หมายถึง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่น

แนวทาง 1.1.1 ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก ให้มีความซื่อสัตย์สุจริต เจ้าภาพ : สำนักงาน ก.พ. / สำนักงาน ป.ป.ช./กระทรวงศึกษาธิการ 1.1.2 ป้องกันการทุจริตเชิงรุก เจ้าภาพ : สำนักงาน ก.พ.ร. / สำนักงาน ป.ป.ท/ สำนักงาน ป.ป.ช. 1.1.3 ปราบปรามการทุจริต เจ้าภาพ : สำนักงาน ป.ป.ช. / สำนักงาน ป.ป.ท. ห่วงโซ่คุณค่า ต้นน้ำ พัฒนาหลักสูตรกำหนดกระบวนการคิด กลางน้ำ การดำเนินการเพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กร ปลายน้ำ สร้างความร่วมมือและเครือข่าย ต้นน้ำ พัฒนาวิเคราะห์วางระบบมาตรการ แนวทางกลไก กลางน้ำ การเพิ่มประสิทธิภาพกลไก สู่การปฏิบัติ ปลายน้ำ ลดการทุจริตในตำแหน่ง หน้าที่และสินบนทุกรูปแบบ ต้นน้ำ ปรับปรุงประสิทธิภาพ การดำเนินคดี กลางน้ำ เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินคดี ปลายน้ำ สื่อสารการรับรู้ผลของคดี โครงการ โครงการสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต โครงการสร้างกลไก/มาตรการ/แนวทางในการป้องกันการทุจริต โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานคดี กระบวนการดำเนินงาน 1. การพัฒนาระบบการรับรู้ 2. การปลูกฝังความซื่อสัตย์ การป้องกัน การทุจริต 3. การพัฒนาบุคลากร 4. การสร้างคู่มือหลักสูตร/กรอบแนวคิด ทุกภาคส่วนสามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม เกิดเครือข่าย ที่ไม่ทนต่อการทุจริต การกำหนดมาตรการ กลไก แนวทาง ข้อเสนอแนะ ในการต่อต้านการทุจริต การพัฒนายกระดับ ค่า ITA การตรวจสอบการเรียกรับสินบนของเจ้าหน้าที่ ของรัฐ 1. ปรับปรุงประสิทธิ ภาพการดำเนินคดี 2. ยกระดับศูนย์รับเรื่องร้องเรียน พัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านการปราบปราม การทุจริตเพื่อให้เกิดการบูรณาการ การทำงานตามรัฐธรรมนูญ สื่อสารการรับรู้ผลของคดี โครงการ/กิจกรรม ที่สำคัญ 1. โครงการสร้างจิตสำนึกให้มีความซื่อสัตย์ สุจริต สามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม (กพ.) 2. โครงการโรงเรียนท้องถิ่นสุจริต (ศธ.) ฯลฯ 1. โครงการแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม (ทุกหน่วยงาน ) 2. โครงการฝึกอบรมบุคลากร ผู้สอนวิชาต่อต้านการทุจริต (ศธ./สถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาทุกสังกัด) ฯลฯ 1. โครงการ STRONG - จิตพอเพียงต้านทุจริต (ทุกหน่วยงาน) 2. โครงการ/กิจกรรมตามแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ (พ.ศ. 2559-2564) (ทุกหน่วยงาน) ฯลฯ 1. โครงการศึกษาวิเคราะห์มาตรการ แนวทางการป้องกันการทุจริตในหน่วยงาน (ทุกหน่วยงาน) 2. โครงการสัมมนาจัดทำมาตรการ/แนวทางตามแผนบูรณาการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (ทุกหน่วยงาน) ฯลฯ 1. โครงการ ขับเคลื่อน CAC- แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (ป.ป.ช./ภาคเอกชน) ขับเคลื่อน Integrity Pact ข้อตกลงคุณธรรม (กรม บ.ก/ ทุกหน่วยงาน) และขับเคลื่อน CoST- ความโปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ 2. โครงการสร้างการรับรู้สิทธิ์ในการป้องกันการทุจริตตามรัฐธรรมนูญ (กกต. กสม. มท.) 3. โครงการให้ความรู้การส่งเสริมให้นิติบุคคลป้องกันการให้สินบน ตามมาตรา 123/5 (ทุกหน่วยงาน) 4. โครงการยกระดับ ITA ฯลฯ 1. โครงการวัดผล การดำเนินงานจากการประเมินความเสี่ยงการทุจริตและป้องกันการทุจริต (ทุกหน่วยงาน) 2. สำรวจสถานการณ์ความเสี่ยงในการรับสินบนของเจ้าหน้าที่รัฐในภาพรวมของประเทศ (ทุกหน่วยงาน/Think Tank) ฯลฯ 1. โครงการพัฒนาศักยภาพของศูนย์รับเรื่องร้องเรียนการทุจริต (หน่วยงานที่มีหน่วยรับเรื่องร้องเรียน) 2. โครงการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต (หน่วยงานด้านการปราบปรามการทุจริต) ฯลฯ 1. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพเจ้าหน้าที่ด้านการปราบปรามการทุจริต 2. โครงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 3.. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ จัดทำฐานข้อมูลกลาง และสร้างกลไกกำกับติดตามการบริหาร การดำเนินคดีทุจริตทั้งระบบ ฯลฯ 1. สื่อสารสาธารณะเพื่อการต่อต้านการทุจริต (หน่วยงานด้านการปราบปรามการทุจริตร่วมกับกรมประชาสัมพันธ์) 2. เผยแพร่ผลของคดี(หน่วยงานด้าน การปราบปราม การทุจริตร่วมกับ กรมประชาสัมพันธ์) ฯลฯ