ร่าง พ.ร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ....

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Why Code of Marketing of Breast-milk Substitutes
Advertisements

การใช้โปรแกรม Captivate
การประเมินผลงาน เพื่อ เลื่อนระดับชำนาญ การ และ การขอรับเงินประจำ ตำแหน่ง.
Microsoft Office PowerPoint 2007
ประวัติส่วนตัว ชื่อ – สกุล นายศุภเลิศ โพธิชัย ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ ชื่อเล่น เจมส์ วันเกิด วันพฤหัสบดีที่ 25 มกราคม 2544 ที่อยู่
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
แม่แบบที่ดีของการบริการ
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
15 กันยายน 2559.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่2015
แนวปฏิบัติสำหรับการศึกษานานาชาติ
Macromedia Flash 8 สุรีย์ นามบุตร.
ระบบการเบิก & การล้างหนี้เงินยืมทดรอง ค่าใช้จ่ายเดินทาง บน New-EDMS
ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับรังสี
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft PowerPoint Part 2 ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
MAKING YOUR HOSPITAL BABY-FRIENDLY
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
ADOBE Dreamweaver CS3.
การประเมินผลงานวิชาการ และการขอรับเงิน พ.ต.ก.
บทที่ 10 การวางแผนธุรกิจ
25/02/62 Equality Human dignity Human Rights Pitak kerdhom.
(KUMAMOTO, KYUSHU, JAPAN
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
โครงการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค.
หน่วยที่ 1. ความหมายและประเภทของโครงการ
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
รายงานการปฏิบัติงาน งานบริหารและธุรการ ฤ
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Flash
บทที่ 6 การแบ่งส่วนตลาด การตลาด เป้าหมาย และการวางตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์
Microsoft PowerPoint 2013 Part 2
หลักเกณฑ์การประเมินผลงานวิชาการ กลุ่มงานประเมินบุคคลและวิชาการ
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
รายวิชา IFM4301 การจัดการเครือข่ายทางสังคม 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
Statistical Method for Computer Science
การดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
การตรวจสอบย้อนกลับ TRACEABILITY
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
การประชุมตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1 (Project and Progress Reviews) วันจันทร์ที่
การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์
สัญลักษณ์พยากรณ์อากาศ
. เขาคิดกับเอาอย่างไง !!!????.
By ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พีระ พันลูกท้าว
ความหมาย ความสำคัญของการให้การศึกษา และแนะแนวผู้ปกครอง
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของ Meetings
รหัสวิชา ศิลปกรรมกับการสื่อสาร Fine and Applied Arts and Communication
PowerPoint 2016.
การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
ร่าง พ.ร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ....
โครงการ 1 อำเภอ 1 สหกรณ์การเกษตรในโครงการ จะมีสหกรณ์ทั้งหมด
เทคนิคการเขียน Resume
องค์กรออกใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ Certificate Authority
Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน
Case Study เพื่อพัฒนาทักษะที่สูงขึ้น (Advance) ครั้งที่ 1
เสียง.
โดย นายวรวุฒิ หล้าเต็น หัวหน้าแผนกข้อมูลและวิจัยตลาด
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๖๒
โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ร่าง พ.ร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.... เอกสารหมายเลข 2 ร่าง พ.ร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.... นางจินตนา พัฒนพงศ์ธร กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก

เหตุผลและอุปสรรคของแม่ไทย ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 2. แม่คิดว่านมแม่มีน้อย กินไม่พอ 1. แม่ต้องกลับไปทำงาน การตัดสินใจของแม่ สิทธิลาคลอด มุมนมแม่ บุคลากรทางการแพทย์ การให้ความรู้และดูแล 3. แม่เชื่อว่านมแม่ไม่มีคุณค่าพอ Slide นี้จะสื่อว่า ข้อมูลจากการสำรวจและวิจัยพบว่า เหตุผลสำคัญซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในประเทศไทย สัมพันธ์กับมาตรการที่แนะนำโดยองค์การอนามัยโลก คือ 1. แม่ต้องกลับไปทำงานก่อน 6 เดือน 2. แม่คิดว่าน้ำนมตัวเองไม่พอ ทำให้ต้องเสริมนมผสมและสุดท้ายกลายเป็นใช้นมผสม 3. แม่เข้าใจผิดว่าน้ำนมตัวเองไม่มีคุณค่า หรือนมผสมดีเทียบเท่าหรือดีกว่านมแม่ (ทำ animation ให้ ทั้ง 3 เหตุผลลอยเข้ามาก่อน) ซึ่งตอนนี้สิ่งที่รัฐบาลพยามทำคือ การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในแม่ทำงาน โดยเฉพาะในกลุ่มแรงงานที่หน่วยงานรัฐพยามส่งเสริมให้ลาคลอดให้ครบตามสิทธิคือ 3 เดือน และส่งเสริมให้สถานประกอบการจัดมุมนมแม่พร้อมกับให้เวลาเบรกแก่พนักงาน การให้ความรู้ คำแนะนำและการช่วยแก้ปัญหาโดยบุคลากรสาธารณสุข ตั้งแต่เริ่มมาฝากครรภ์ จนกระทั่งหลังคลอด เพื่อให้แม่มีความรู้ที่ถูกต้อง และมีความมั่นใจว่าตนจะมี่น้ำนมเพียงพอเลี้ยงลูกได้ รวมทั้งนมแม่เป็นนมที่มีคุณค่ามากที่สุดสำหรับเด็ก ทั้งในช่วง 6 เดือนแรกและหลังจากนั้น อย่างไรก็ตาม เรื่องของความเชื่อว่านมแม่มีคุณค่าไม่พอ ส่วนหนึ่งได้รับอิทธิพลมาจากการส่งเสริมการตลาดอาหารทารกและเด็กเล็ก ทำให้แม่เกิดความเข้าใจผิดคิดว่า นมผงดีกว่าหรือดีเทียบเท่านมแม่ ซึ่งในส่วนนี้รัฐบาลจำเป็นต้องควบคุมการส่งเสริมการตลาดดังกล่าว ตามมาตรฐานสากล ซึ่งก็คือ BMS Code ขององค์การอนามัยโลก แต่ที่ผ่านมายังไม่สามารถดำเนินการได้ ขาดการควบคุม ด้วยกฎหมาย การส่งเสริมการตลาด การโฆษณา การติดต่อกับแม่

ทำไมต้องควบคุมการส่งเสริมการตลาด ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ การส่งเสริมการตลาด การรับรู้และความคิดของแม่ ความลังเลใจที่จะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การตัดสินใจเลือกนมสำหรับลูก หลักการของร่าง พรบ นี้คือ ต้องการควบคุมการส่งเสริมการตลาดที่ไม่เหมาะสม เพื่อสร้างความมั่นใจว่าแม่และเด็กทุกคนจะได้รับการปกป้องสิทธิให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นจริง จากช่องทางที่เหมาะสม งานวิจัยทั่วโลก รวมทั้งงานวิจัยล่าสุดจาก Lancet ยืนยันว่า การควบคุมการตลาดอาหารทารกและเด็กเล็กเป็นสิ่งจำเป็นที่เมื่อนำมาบังคับใช้ร่วมกับมาตรการอื่นๆแล้วจะช่วยส่งเสริมให้คนเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มากขึ้น เพราะ อิทธิผลของการส่งเสริมการตลาดสร้างวาทกรรมและมายาคติที่ส่งผลต่อความคิด และความเชื่อแก่แม่ว่าสารอาหารในนมผงดีทียบเท่ากับนมแม่ผ่านการใช้ภาษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ เช่น การกล่าวถึง alpha lactabumin , DHA การใช้ภาษาโฆษณายังสร้างความกังวลใจให้กับแม่ว่านมแม่อาจมีสารอาหารไม่เพียงพอ ทำให้เกิดความลังเลใจที่จะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรก รวมทั้งการให้นมแม่ต่อเนื่อง เปลี่ยนเป็นการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แล้วใช้นมผงร่วม หรือจะใช้นมผงอย่างเดียว ซึ่งหากแม่เริ่มใช้นมผงร่วมก็จะทำให้นมแม่น้อยลงและหยุดให้นมแม่ไปในที่สุด Ref: Breastfeeding and BMS code communication project Dr.Bavonsan Chiadamrong

“The International Code of Marketing of Breast-Milk Substitutes” ที่มาของร่าง พ.ร.บ. ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ “The International Code of Marketing of Breast-Milk Substitutes” มาตรฐานสากลขั้นต่ำสำหรับควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารทารกและเด็กเล็กให้ถูกต้องตามหลักจริยธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างการมีกฎหมายกับ EBF rate ที่มาของร่าง พรบ. เนื่องจากกระทรวงสาธารณสุขมีหน้าที่ ปกป้องสุขภาพแม่และเด็ก โดยต้องสร้างความมั่นใจว่าแม่และครอบครัวจะได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและปราศจากอิทธิพลของการโฆษณาชวนเชื่อ ในการเลือกอาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กทุกคน ซึ่งองค์การอนามัยโลกได้กำหนดมาตรฐานสากลขั้นต่ำไว้ตั้งแต่ ปี 1981 หรือเมื่อ 30 กว่าปีมาแล้วให้ประเทศสมาชิกนำไปปฏิบัติเรียกว่า BMS CODE หรือเรียกย่อๆ ว่า Milk Code ประเทศไทยได้ผลักดันมาตรฐานดังกล่าว โดยได้ออกเป็นแนวทางแบบสมัครใจเมื่อปี 2551 ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข แต่จากการสำรวจและวิจัยพบว่า บริษัทผู้ผลิต ผู้นำเข้า นมผสมมีการละเมิดแนวทางดังกล่าว โดยการทำการส่งเสริมการตลาดอย่างไม่เหมาะสมและรุนแรงมากขึ้น ที่ประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ปี 2553 และมติค.ร.ม. ปี 2554 จึงมีมติให้กระทรวงสาธารณสุขต้องออกกฎหมาย เพื่อควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารทารกและเด็กเล็ก ตามมาตรฐานสากลขององค์การอนามัยโลก ‘BMS CODE’ ซึ่งมาตรการนี้ถือเป็นมาตรการสำคัญที่ช่วยให้ประเทศที่นำไปบังคับใช้ มีอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มากขึ้น ประชาพิจารณ์เมื่อ 14 พ.ย. 2557 และค.ร.ม อนุมัติหลักการ. 1 ธ.ค. 2558

เนื้อหาหลักในร่าง พ. ร. บ เนื้อหาหลักในร่าง พ.ร.บ. ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ห้ามโฆษณาอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็กต่ำกว่า 3 ปี แก่สาธารณชน ไม่ห้ามการขายนมผสม พนักงานขายให้ข้อมูลแก่แม่ที่เลือกซื้อนมผสมได้ ไม่ห้ามตัวแทนบริษัทให้ข้อมูลแก่บุคลากรทางการแพทย์ บริษัทสามารถบริจาคนมแก่เด็กกำพร้าสงเคราะห์และเด็กป่วยในโรงพยาบาล ห้ามพนักงานการตลาดติดต่อหญิงตั้งครรภ์ แม่และครอบครัว ห้ามแจกตัวอย่างนมผสม ห้ามการให้ข้อมูลที่กล่าวอ้างเกินจริง โอ้อวด บุคลากรสาธารณสุขมีหน้าที่ให้ข้อมูลเรื่องอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็กแก่แม่และครอบครัว ทั้งครอบครัวที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่และนมผสม

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โครงการส่งเสริม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อปกป้องสุขภาพของแม่และเด็ก ลดความเสี่ยง ของการเจ็บป่วย ให้แม่และครอบครัวได้รับข้อมูลที่ถูกต้องในการตัดสินใจเลือกอาหาร ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเด็ก ยกร่างประกาศกระทรวงฯ 10 ฉบับ และจัดประชาพิจารณ์ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นสิทธิ ของผู้หญิงและเด็กทุกคน เครื่องมือเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ กฎหมาย มาตรฐานบริการฯ มุมนมแม่สถานประกอบการ ประชุม คกก. ยกร่าง พรบ. และภาคีทุกอังคาร พุธ นำเสนอ ร่าง พรบ.ต่อคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะ10 ทุกจันทร์ พฤหัส รวมพลคนกินนมแม่เทิดพระเกียรติสมเด็จพระราชินีและสัปดาห์นมแม่โลก วัตถุ ประสงค์ สค.- ธค.60 ประเมินผลโครงการ ประเทศสมาชิก มค.- ธค.60 วิจัยขยายลาคลอด 6 เดือน มค. กย.60 ประกาศใช้ พรบ.ควบคุมส่งเสริมการตลาด จัดทำแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แห่งชาติ ธค. 59 อบรมมิสนมแม่ประจำโรงพยาบาล /อบรมการควบคุมส่งเสริมการตลาดพนักงานระดับเขต/จังหวัด กย.- ตค 59 เสนอ ร่าง พรบ.ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี และสนช. กค.- กย 59 สค. 59 สค. 59-สค.60 สสส. โฆษณา ประชาสัมพันธ์ สื่อสาธารณะ สร้างความตระหนักเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการขับเคลื่อน ร่าง พรบ. ควบคุมส่งเสริมการตลาด พลังนมแม่ สค. 59-สค.60 เมย.- กค 59 เมย.-กค 59 ปกป้อง (ร่าง) Milk code ส่งเสริม คลินิกนมแม่/ มุมนมแม่ ในสถานประกอบการ สนับสนุน มิสนมแม่ อสม.นมแม่ ตำบลนมแม่

ผลที่คาดหวัง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ แม่ไทยมีความรู้และความเชื่อมั่นที่ถูกต้องในการเลือก อาหารให้ลูก ค่านิยมของสังคมไทยที่ส่งเสริม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเหมาะสม เด็กไทยจะได้กินนมแม่มากขึ้น ส่งผลต่อ สุขภาพ สติปัญญาและศักยภาพในการเรียนรู้ สังคมให้ความสำคัญกับสตรีและเด็ก Slide นี้คือ ผลของการมีกฎหมาย กราฟนี้ วิเคราะห์โดยเทียบข้อมูล อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของประเทศที่นำ code ไปออกเป็นมาตรการต่างๆ (ข้อมูล code status ของประเทศต่างๆ ล่าสุดตามรายงานของ WHO/UNICEF and IFBAN 2016) จากกราฟสรุปได้ว่ายิ่งมีกฎหมายก็ยิ่งทำให้ EBF rate สูงขึ้น แต่ต้องมีกฎหมายแบบ full หรือไม่ก็ many provision เพราะการเป็น few provision ไม่ได้มีผลกับ EBF rate ดังนั้นหากจะเป็นกฎหมายก็ต้องเป็นกฎหมายที่เข้มข้น และต้องมีการบังคับใช้อย่างจริงจัง นอกจากการออกกฎหมาย code ต้องมีมาตรการอื่นร่วมด้วย ซึ่งจะช่วยให้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สำเร็จมากขึ้น มีประเทศบางกลุ่ม ที่ไม่มีกฎหมายแต่มีมาตรการทางสังคมอื่นๆอย่างดี โดยเฉพาะมาตรการลาคลอด ทำให้อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สูงขึ้นได้เช่นกัน

Breastfeeding flash mob takes over Hong Kong station to protest discrimination – May 2016 - ภาพนี้เป็นเหตุการณ์การชุมนุมให้นมลูกของแม่ๆชาวฮ่องกงกว่า 100 คนเมื่อต้นเดือน พ.ค. เพือ่เรียกร้องให้สังคมเคารพสิทธิในการให้นมลูกของผู้หญิงในที่สาธารณะ

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นสิทธิของผู้หญิงและเด็กทุกคน มาร่วมกันส่งเสริมคุณภาพชีวิตของสตรีและเด็ก ผ่านการ ปกป้อง ส่งเสริม และสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่