การพัฒนาหลักสูตร ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๒.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ครูและนักเรียน
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาหลักสูตร ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ผศ.ดร.พงษ์อินทร์ รักอริยะธรรม รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ งานพัฒนาหลักสูตร สำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1/30

เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 84 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต 2/30

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป วิชาที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล มีความเข้าใจธรรมชาติ ตนเอง ผู้อื่น และสังคม เป็นผู้ใฝ่รู้ สามารถคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสารความหมายได้ดี มีคุณธรรม ตระหนักในคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรม ทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตและดำรงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี 3/30

การจัดรายวิชาศึกษาทั่วไป สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดวิชาศึกษาทั่วไป ในลักษณะจำแนกเป็นรายวิชา หรือลักษณะบูรณาการใดๆ ก็ได้ โดยผสมผสานเนื้อหาวิชาที่ครอบคลุมสาระของกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ภาษา และกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ กับคณิตศาสตร์ ในสัดส่วนที่เหมาะสม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของวิชาศึกษาทั่วไป โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 4/30

เจตนารมณ์ เพื่อเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ โดยให้ศึกษารายวิชาต่างๆ จนเกิดความซาบซึ้ง และสามารถติดตามความก้าวหน้าในสาขาวิชานั้นได้ด้วยตนเอง การจัดการเรียนการสอนควรจัดให้มีเนื้อหาวิชาที่เบ็ดเสร็จในรายวิชาเดียว ไม่ควรมีรายวิชาต่อเนื่อง หรือรายวิชาขั้นสูง และไม่ควรนำรายวิชาเบื้องต้นหรือรายวิชาพื้นฐานของวิชาเฉพาะมาจัดเป็นรายวิชาศึกษาทั่วไป 5/30

รูปแบบของวิชาศึกษาทั่วไป - ร่วม - กระจาย แนวโน้มรูปแบบ GENED จะเป็นการ ผสมผสานทั้ง 2 รูปแบบ 6/30

รูปแบบโครงสร้างวิชาศึกษาทั่วไป บังคับ - สังคมศาสตร์ - มนุษยศาสตร์ - ภาษา - วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ * แต่ละกลุ่มวิชาจัดรูปแบบต่างกันได้ บังคับ+เลือก เลือก 7/30

ปัญหาในการจัดหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ขาดวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่สอดคล้องกับการจัดการศึกษาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป คณาจารย์ขาดความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป เนื้อหาของวิชาไม่ใช่ลักษณะบูรณาการความรู้ของแต่ละกลุ่มในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปหรือเป็นรายวิชาพื้นฐานของวิชาการหรือวิชาชีพ 8/30

การจัดการศึกษาวิชาศึกษาทั่วไป ในยุคโลกไร้พรมแดน ปัจจุบันโลกเป็นโลกไร้พรมแดน มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สถาบันอุดมศึกษาจึงต้องพัฒนาบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลก เป็นบัณฑิตที่เป็นพลเมืองและพลโลก บัณฑิตจึงจำเป็นต้องมี Global Competence คือ 1. มีโลกทัศน์กว้างไกล 2. รู้จักเขา รู้จักเราทั่วโลก เพื่อจะได้ติดต่อหรือมีความ สัมพันธ์กัน เป็นคู่ค้า คู่ขาย และคู่แข่งกัน 3. มีทักษะด้านภาษา เพื่อติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นได้ดี ไม่น้อยกว่า 2 ภาษา 4. มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ก้าวหน้า * แหล่งที่มา : แนวคิดในการจัดการศึกษาวิชาศึกษาทั่วไป ศ.วิจิตร ศรีสอ้าน 9/30

แนวทางการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป การจัดเนื้อหาการเรียนการสอน เนื้อหาควรเป็นลักษณะสหวิทยาการ เพื่อให้บัณฑิตมีความรอบรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถดำรงตนอยู่ในสังคมและประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุข คณาจารย์ผู้สอน ควรมีความรู้ มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป มีความถนัดและความสนใจในการสอน วิธีสอน ควรสอนเป็นทีม เน้นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา ตำรา สื่อ และโสตทัศนูปกรณ์ประกอบการเรียนการสอน ต้องพัฒนาให้ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอน และเทคนิคการสอนสอดแทรก * แหล่งที่มา : แนวคิดในการจัดการศึกษาวิชาศึกษาทั่วไป ศ.วิจิตร ศรีสอ้าน 10/30

สรุป ปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนในสังกัดและในกำกับและสังกัดหน่วยงานอื่นๆ ต้องจัดการศึกษาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรปริญญาตรี พ.ศ. 2548 และมีเครือข่ายเรียนรู้ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร วิธีการเรียนการสอน กิจกรรมนิสิตนักศึกษา และการวัดและประเมินผล รวมทั้งแนวปฏิบัติ ที่ดี เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ให้บัณฑิตเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ของชุมชน ตลาดแรงงาน สังคมและประเทศชาติ 11/30

ต่อไปการรายงานข้อมูลหลักสูตรตามแบบ สมอ ต่อไปการรายงานข้อมูลหลักสูตรตามแบบ สมอ. 01-07 จะมีความสำคัญมาก เนื่องจาก สกอ. จะนำข้อมูลดังกล่าวของทุกสถาบัน ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลด้านความพร้อม หลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร ฯลฯ เผยแพร่ต่อ สาธารณชนผ่านทาง website และ สกอ. จะรับรองมาตรฐานหลักสูตรตามความพร้อม ของสถาบัน โดยพิจารณาจากรายละเอียดของหลักสูตร ประกอบกับข้อมูลตามแบบรายงาน สมอ. 01-07 ในระบบฐานข้อมูล ซึ่งการรับรองคุณวุฒิของ ก.พ. ก็จะใช้ฐานข้อมูลของ สกอ. ในการตรวจสอบด้วย 12/30

ประเด็นปัญหาของ มช. หลักสูตรปริญญาตรี มช. ไม่สอดคล้องกับเกณฑ์ สกอ. ทำให้หลักสูตรถูกตีกลับ เนื่องจากวิชาศึกษาทั่วไปไม่ครอบคลุมแนวทางที่ สกอ. กำหนด จำเป็นต้องมีการปรับปรุง 13/30

พัฒนาการในระยะ 2 ปีที่ผ่านมา มช. ทราบปัญหาและได้ดำเนินการดังนี้ 1. จัดประชุมสัมมนาเรื่องวิชาศึกษาทั่วไป ภายในมหาวิทยาลัย - แนวทางการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต (30 พ.ย. 50) - การบริหารหลักสูตรเพื่อพัฒนาแบบองค์รวม ( 6 ก.พ. 51) - การประชุมคณะกรรมการบริหารและประสานงานวิชาการ เรื่อง การบริหารจัดการวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (5ต.ค. 50) 14/30

- การบริหารจัดการวิชาศึกษาทั่วไป (6-7 ส.ค 50) 2. เข้าร่วมเครือข่ายศึกษาทั่วไปอุดมศึกษาไทย ซึ่งมีมหาวิทยาลัยของรัฐ-เอกชนเข้าร่วม และ มช.เป็นเจ้าภาพจัดประชุมสัมมนาระดับประเทศครั้งที่ 4 เมื่อ 18-19 มี.ค. 51 3. เข้าร่วมการสัมมนาของเครือข่ายบัณฑิต อุดมคติไทย จัดโดยมหาวิทยาลัยนเรศวร - การบริหารจัดการวิชาศึกษาทั่วไป (6-7 ส.ค 50) - การจัดทำวิชาศึกษาทั่วไปแบบบูรณาการ (3-4 เม.ย. 51) 15/30

มช.จะจัดวิชาศึกษาทั่วไปในรูปแบบใด GENED มช. ควรแบ่งเป็น 3 หรือ 4 กลุ่ม - ภาษาและการสื่อสาร - วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ - มนุษยศาสตร์ - สังคมศาสตร์ กลุ่มมนุษยศาสตร์ และกลุ่มสังคมศาสตร์ ควรรวมกลุ่ม หรือ แยกกลุ่ม 16/30

Free template from www.brainybetty.com วิชาศึกษาทั่วไปที่ มช. ต้องการ ? ระดับเนื้อหา - ท้องถิ่น - ประเทศ - ภูมิภาค - สากล 17/30 5/4/2019 Free template from www.brainybetty.com

กลุ่มมนุษยศาสตร์ / สังคมศาสตร์ ต้องรู้ : - เศรษฐกิจ - สังคม - การเมือง - คุณธรรม จริยธรรม - การครองตนในสังคม - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 18/30

กลุ่มวิทยาศาสตร์ / คณิตศาสตร์ ต้องรู้ : - วิทยาศาสตร์ - สิ่งแวดล้อมทั่วไป - คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์บูรณาการ / ตรรกวิทยา) 19/30

กลุ่มภาษาและการสื่อสาร ให้เลือกภาษาที่ นศ. ไปทำงานในระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค/ สากล ระดับท้องถิ่น : ไทย ท้องถิ่น (เหนือ อีสาน ใต้) ระดับภูมิภาค : ลาว เวียดนาม จีน เขมร ระดับสากล : อังกฤษ เยอรมัน ฝรั่งเศส 20/30

วิธีการเรียนการสอน การประเมิน – ประเมินอย่างไร ? - บรรยาย บูรณาการเนื้อหา/ผู้สอน - ILP - CCA - อัธยาศัย - สหกิจศึกษา - หนังสือนอกเวลา/ ภาพยนตร์ การประเมิน – ประเมินอย่างไร ? 21/30

ขั้นตอน/วิธีการ จัดกลุ่มกระบวนวิชา GE แต่ละกลุ่มสาขาวิชา (กระจาย) จัดทำรายละเอียดกระบวนวิชาใหม่เพื่อเสนออนุมัติเปิดสอน จัดทำปฏิทินการดำเนินงาน 22/30

เป้าหมาย ปรับปรุงหมวดวิชา GE ทุกหลักสูตร ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 คณะ/วิทยาลัยต้องเสนอหลักสูตรมายัง มหาวิทยาลัยภายใน ก.ย. 51 23/30

แนวคิดอื่นในการปรับปรุงหลักสูตร 1. ปรับรูปแบบการเขียนหน่วยกิต ตามแบบที่ สกอ. กำหนด (เพิ่มการเรียนรู้ด้วยตนเอง) ข้อดี - สอดคล้องแนวปฏิบัติของ สกอ. - ครอบคลุมการจัดการเรียนการสอนทุก รูปแบบ - รองรับการศึกษาตามอัธยาศัย - นศ. ได้เรียนรู้มากขึ้น (ไม่นับภาระงาน) 2. กำหนดให้หลักสูตรปริญญาตรีมี EXIT-EXAM และให้ certificate ซึ่งจะเป็นกลไกในการพัฒนานักศึกษา 24/30

กรณีตัวอย่าง Yunnan Normal University (YNNU) โครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาตรี แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม 1. กลุ่ม Compulsory courses (เทียบได้กับ General Education) แบ่งเป็น 3 หมวด กำหนดโดยกระทรวง ศึกษาธิการ ใช้บังคับสำหรับมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ - Foreign language - Moral and ideology - Computer skills 25/30

วิชากลุ่ม Compulsory courses ได้แก่ 1) Physical training หรือ Physical education สอนโดยคณะศึกษาศาสตร์ ต้องเรียนตั้งแต่ปีที่ 1-3 2) ภาษาต่างประเทศ (สอนเฉพาะภาษาอังกฤษ) สอนโดย School of Foreign Language บังคับเรียนประมาณ 14 หน่วยกิต (320 ชั่วโมง) 3) Psychology สอนโดยคณะศึกษาศาสตร์ 4) Politics สอนโดยคณะสังคมศาสตร์ 5) Computor สอนโดยภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ 26/30

2. กลุ่ม Subject requirements (พื้นฐานวิชาชีพ) 3. กลุ่ม Electives แบ่งเป็น 1) General electives 2) Specific electives 27/30

ข้อสังเกตจากการศึกษาดูงานที่ YNNU 1. เน้นวิชาศึกษาทั่วไป โดยเฉพาะด้านภาษา และพลานามัย 2. จัดการเรียนการสอนโดยคณะ/ภาควิชาที่ เกี่ยวข้อง ส่วนใหญ่สอนแบบบรรยาย มี ปฏิบัติการบ้างในบางวิชา 3. นักศึกษาทุกคนต้องผ่านการสอบ Exit-Examination ในวิชาภาษาอังกฤษ และ คอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะสำเร็จการศึกษา 28/30

วิชาศึกษาทั่วไปของ มช. ...จะเป็นไปในแนวทางใด ? 29/30 5/4/2019 Free template from www.brainybetty.com

Free template from www.brainybetty.com ...ขอบคุณ... 30/30 5/4/2019 Free template from www.brainybetty.com