งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
โครงการ ส่งเสริมป้องกันโรค ในช่องปาก ตาม ชุดสิทธิประโยชน์
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
งาน Palliative care.
ก้าวต่อไปในการดำเนินงานโครงการสำคัญ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑
MOU การดำเนินงานผู้สูงอายุ
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การติดตาม (Monitoring)
การลงข้อมูล LTC ปี ลงข้อมูลผ่านเวปไซด์ : bit.ly\cmpho_ltc/2560
งานกลุ่มวัยผู้สูงอายุ ปี 2562
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
ประชุมการดำเนินงานผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 16 กรกฎาคม 2561 เวลา น. ณ ห้องประชุมอินทนนท์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

Flow Chart การดำเนินงานผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561

ตัวชี้วัดงานผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2561 ตัวชี้วัดงานผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2561 1 . ร้อยละของ Healthy Ageing : เกณฑ์เป้าหมาย ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพ (ดำเนินการครบทุกประเด็น) : มีฐานข้อมูลสถานะสุขภาพผู้สูงอายุ - อัตราของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงภาวะสมองเสื่อม : มีข้อมูลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงภาวะสมองเสื่อม - อัตราของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงภาวะหกล้ม : มีข้อมูลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงภาวะหกล้ม - ร้อยละของผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในการทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน : ร้อยละ 80 และข้อมูล ผู้สูงอายุได้บันทึกในระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ร้อยละ 80 - มีการดำเนินจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุในสถานบริการสุขภาพ : รพท./รพศ. = 1 แห่งและ รพช. อย่างน้อย 1 แห่ง

ตัวชี้วัดงานผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2561 ตัวชี้วัดงานผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2561 2. ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (LTC) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ พื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ของ สปสช. (7 องค์ประกอบ ) พื้นที่ที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ของสปสช. (6 องค์ประกอบ ) 1. มีระบบการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพและมีข้อมูลผู้สูงอายุที่จำเป็นต้อง ได้รับการดูแลช่วยเหลือระยะยาว 1. มีข้อมูลผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพ ตามความสามารถในการประกอบกิจวัตร ประจำวัน (Activities of Daily Living: ADL) 2. มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 3. มีผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ(Care mamager) ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) 3. มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 4. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care) จากสถานบริการสู่ชุมชน โดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ 4. มีบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน โดยบุคลากรสาธารณสุข 5. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพระดับตำบล 5. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล 6. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ ติดบ้านติดเตียงโดยท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วมและ มีแผนการดูแลรายบุคคล(Care plan) 6. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2 (ติดบ้าน) และ ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 3 (ติดเตียง) 7. มีคณะกรรมการบริหารจัดการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนหรือ คณะกรรมการกองทุนตำบล

เป้าหมาย ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสุขภาพ ADL/Geriatric Syndrome: เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจหลอดเลือด สุขภาพช่องปาก สมองเสื่อม เข่าเสื่อม ภาวะหกล้ม ซึมเศร้า) ร้อยละ 80 และข้อมูลผู้สูงอายุได้บันทึกในระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ร้อยละ 80 2. พัฒนาสังคมผู้สูงอายุ (ชมรม/โรงเรียน) ให้ครบทุกตำบล/หมู่บ้าน และให้ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ ร้อยละ 80 3. พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด - ผ่านเกณฑ์ หมายถึง ผ่านองค์ประกอบทุกข้อ - ชมรมผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ หมายถึง ชมรมผู้สูงอายุที่อยู่ในพื้นที่ตำบล Long Term Care และผ่าน เกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ คือ มีคณะกรรมการ มีกิจกรรมมีกองทุน และมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 3. บริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล หมายถึง มีการจัดบริการป้องกันโรคในช่องปากตามชุดสิทธิประโยชน์ใน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หรือ สนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในช่องปากในชมรมผู้สูงอายุที่ดำเนินการโดย แกนนำชมรมผู้สูงอายุหรือ อสม. 4. พัฒนาบริการส่งเสริม/ป้องกันทันตสุขภาพในชมรมผู้สูงอายุ/ชุมชนระดับตำบล ร้อยละ 80 5. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ DHS/PCC/FCT/ท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม ร้อยละ 100

องค์ประกอบที่1 การคัดกรองผู้สูงอายุ องค์ประกอบที่1 การคัดกรองผู้สูงอายุ

การคัดกรองผู้สูงอายุ 1. คัดกรองปัญหาสําคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ความเสี่ยง โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง สุขภาพช่องปาก สุขภาวะทาง ตา 2. คัดกรองกลุ่ม Geriatric Syndromes ได้แก่ สมรรถภาพสมอง ภาวะซึมเศร้า ข้อ เข่าเสื่อม ภาวะหกล้ม การกลั้นปัสสาวะ ภาวะโภชนาการ ปัญหาการนอน 3. ประเมินสมรรถนะผู้สูงอายุเพื่อการดูแล ได้แก่ การประเมินความสามารถในการทํากิจวัตรประจําวัน (Activity of Daily Living: ADL) ประเมิน/คัดกรองผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลระยะยาว

องค์ประกอบที่ 2 มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ

เกณฑ์ประเมินชมรมผู้สูงอายุ เต็ม 100 คะแนน คู่มือ 2560ประเมินงาน สส เกณฑ์ประเมินชมรมผู้สูงอายุ เต็ม 100 คะแนน คู่มือ 2560ประเมินงาน สส.สูงอายุ ของศูนย์อนามัย.pdf ข้อมูลทั่วไป 15 คะแนน กรรมการ 10 คะแนน กฎ กติกา 10 คะแนน ระดมทุน(ยกเว้น ฌกส.) 20 คะแนน กิจกรรม 45 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 การส่งเสริมป้องกันทันตกรรมสุขภาพในระดับตำบล เกณฑ์ประเมินทันตสาธารณสุขในชุมชน

กิจกรรมจัดโดยชมรมผู้สูงอายุ 1.สนับสนุนชมรมผู้สูงอายุให้จัดกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก (วัดจากศักยภาพในการจัดกิจกรรมของชมรม 100 คะแนน) กิจกรรมจัดโดยชมรมผู้สูงอายุ คะแนน (100) การให้คะแนน 1. การจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก โดยผู้สูงอายุ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง (เช่น การให้ความรู้ด้านสุขภาพช่องปาก การฝึกทักษะ การทำความสะอาดช่องปาก การแปรงฟันในช่วงเวลาจัดกิจกรรมที่ชมรมฯ การตรวจสุขภาพช่องปากโดยสมาชิกชมรมฯ 35 ไม่มี = 0 มี 1-2 กิจกรรม = 20 มีมากกว่า 2 กิจกรรม = 35 2. การจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก (เช่น มีมุมความรู้ในชมรมผู้สูงอายุ สถานที่จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก วัสดุ / อุปกรณ์ สนับสนุนกิจกรรม การสร้างกระแส ฯลฯ) มี 1-2 กิจกรรม = 20 3. มีการเรียนรู้ในชมรมผู้สูงอายุ (เช่น การไปศึกษา / ดูงาน ชมรมผู้สูงอายุอื่น การเข้าร่วมประชุมด้านสุขภาพช่องปาก ฯลฯ) 10 ไม่มี = 0 มี = 10 4. มีข้อมูลสุขภาพช่องปากสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ทันสมัย ไม่มี = 0 มี = 10 5. การเป็นแหล่งศึกษา/ดูงาน/เรียนรู้ของชมรมฯภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ข้อมูลจาก : การลงข้อมูลชมรมผู้สูงอายุหน้าเวบไซด์โครงการฟันเทียมพระราชทาน และการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอาย (dental.anamai.moph.go.th/elderly)

2. จัดบริการทันตกรรมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ (100คะแนน) กิจกรรม คะแนน (100) หมายเหตุ ตรวจสุขภาพช่องปากและให้คำแนะนำ หรือตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ฝึกทักษะในการควบคุมคราบจุลินทรีย์ การใช้ฟลูออไรด์วานิชป้องกันหรือยับยั้งรากฟันผุ ขูด ขัด ทำความสะอาดฟัน ป้องกันปริทันต์อักเสบ ๓๐ ๒๐ ไม่มี = ๐ / มี = ๓๐ คะแนน ไม่มี = ๐ / มี = ๒๐ คะแนน อ้างอิงข้อมูลจาก : ผลงานที่ปรากฏผ่าน Health Data Center คะแนนการประเมินคุณภาพชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 80 คะแนนขึ้นไป ระดับดีมาก 40 – 80 คะแนน ระดับดี น้อยกว่า 40 คะแนน ระดับพอใช้

องค์ประกอบที่ 3,4,6,7 ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long term Care : LTC)

นโยบายการดำเนินงาน Long Term Care ปี ครอบคลุม พื้นที่เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวน อปท.ที่ เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 2559 10 38 18.10 2560 50 60 46.67 2561 ตามความพร้อมของพื้นที่ 115 54.76

หลักเกณฑ์การพิจารณาความพร้อมของ อปท หลักเกณฑ์การพิจารณาความพร้อมของ อปท.ในการดำเนินงานระบบการดูแลด้านสาธารณสุข สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long term Care : LTC) 1. ความพร้อมด้านเอกสาร/ข้อมูล 1. แบบแสดงความจำนง LTC 2. รายชื่อผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงพึ่งพิง 3. สำเนาบัญชี ธกส. 2. ความพร้อมด้านบุคลากรและหน่วยจัดบริการ 1. มีผู้รับผิดชอบงานใน อปท. 2. มี Care Manager ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรกรมอนามัย 3. มี Care Giver ครบตามสัดส่วนต่อผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 4. มีหน่วยจัดบริการ : ศูนย์/รพ./รพ.สต. 5. Care Manager จัดทำ Care plan ทุกราย ที่ได้รับงบประมาณ 3. ความพร้อมของ อปท. 1. มีการแต่งตั้งอนุกรรมการ LTC 2. อนุกรรมการ LTC พิจารณาเห็นชอบCP และคณะกรรมการกองทุนฯ อนุมัติเบิกจ่าย 3. สามารถโอนงบให้หน่วยจัดบริการ ภายใน 30 – 45 วัน หลังได้รับการโอน งบจาก สปสช.

สวัสดีครับ สวัสดีคะ