แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม หมวด Promotion & Prevention Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ) แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม โครงการที่ 1.โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย ร้อยละ 75 ของโรงพยาบาลได้รับการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital
ผลการดำเนินการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 11 เดือน ผลลัพธ์ (ส.ค.60) ร้อยละของโรงพยาบาล พัฒนาได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ระดับพื้นฐาน ร้อยละ 75 ร้อยละ 86.21 GAP Analysis 1. ที่พักมูลฝอยติดเชื้อท่อระบายน้ำไม่ได้เชื่อมต่อระบบบำบัดน้ำเสีย 2. ผู้รับผิดชอบมูลฝอยติดเชื้อไม่ได้รับการแต่งตั้ง 3. มูลฝอยอันตรายไม่มีที่เก็บ ไม่มีที่กำจัด 4. นวัตกรรม GREEN&CLEAN
ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ G&C Hospital จังหวัดเชียงใหม่ ณ ส.ค. 2560
แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (ด้านสาธารณสุข) ประจำปีงบประมาณ 2561 1. ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (PP&P Excellence) แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (2 โครงการ 2 ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์) * GREEN & CLEAN Hospital * จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (Hot Zone)
ระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเข้มแข็ง GREEN and CLEAN Hospital 100% พัฒนาระบบข้อมูลและการเฝ้าระวังฯ สนับสนุนวิชาการ คสจ. สสจ. สสอ. (ชุดความรู้ และอบรม) กำกับ ติดตาม และสนับสนุน สสอ. รพ.สต. อปท ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ แผนงานวิจัย อวล. Data Center& Surveillance HRM M&E เชิงคุณภาพ Smart Provinces 76 แห่ง Smart LA 50 % Smart EnH Cluster ส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมาย พัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) สนับสนุนชุดความรู้ อวล. ระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเข้มแข็ง ประชาชนสุขภาพดี ควบคุมกำกับการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ โดย Digital tracking ขยายการพัฒนาสู่ รพ.สต. และชุมชน พัฒนาบุคลากร ประสานนโยบาย สบส., อสม.เชี่ยวชาญด้าน อวล. จัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมนวัตกรรม สร้างความรอบรู้ด้าน อวล. ของปชช. GREEN and CLEAN Hospital 100% Active Community 3,655 แห่ง
อำเภอที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน (Hot Zone) อำเภอมีระบบและกลไกเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพใน 6 ประเด็น ดังนี้ 1. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (NEHIS) 2. มีกลไกการจัดการปัจจัยเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการ อย่างน้อย 3 ประเด็น (หมอกควัน มูลฝอย และปัญหาของอำเภอ) 3. มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาล สังกัด กระทรวงสาธารณสุข ให้ถูกต้องตามกฎหมาย(รพศ./รพท./รพช. ร้อยละ 100 4. มีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน (EHA) 5. อำเภอมีการดำเนินงานเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดตำบลที่มีชุมชนที่มีการจัดการด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) 6. มีการส่งเสริมการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลที่ได้มาตรฐาน (ENVOCC)
เป้าประสงค์ : ระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมทุกระดับมีความเข้มแข็ง (ร่าง) แผนประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย เป้าประสงค์ : ระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมทุกระดับมีความเข้มแข็ง เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย 1. ชุมชนสามารถจัดการอนามัย สิ่งแวดล้อมได้อย่างมี ประสิทธิภาพและยั่งยืน(Smart Community) 1. ตําบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการ จัดการอนามัย สิ่งแวดล้อม 2. ชุมชนมีการเฝ้าระวังประปาหมู่บ้าน 300 ชุมชน 3,655 ตําบล 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถ จัดบริการอนามัย สิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณภาพ (Smart LA) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อม ผ่านมาตรฐาน EHA ร้อยละ 50 3. ระบบอนามัยสิ่งแวดล้อม ของจังหวัดมี ประสิทธิภาพ (Smart Province) 1. จํานวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัย เสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบ รูณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน 2. จํานวนจังหวัดในพื้นที่เฉพาะ (SEZ/EEC) มีฐานข้อมูล และการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. จังหวัดในพื้นที่วิกฤติมลพิษอากาศ (จ.สระบุรี/จ.หมอกควันภาคเหนือ) มีการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ 76 จังหวัด 13 จังหวัด 10 จังหวัด 4.โรงพยาบาลสามารถจัดการ มูลฝอยติดเชื้อและอนามัย สิ่งแวดล้อมได้ (Smart GREEN & CLEAN Hospital) 1. รพ.สธ.ดําเนินงานผ่านมาตรฐาน GREEN & CLEAN 2. มูลฝอยติดเชื้อทุกแหล่งกำเนิดได้รับการจัดการตาม กฎหมาย (สถานบริการการสาธารณสุขภาครัฐ) ร้อยละ 100 34,333 ตัน/ปี