พฤติกรรมของสัตว์ (Animal Behavior) โดย... ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การเจริญเติบโตของปลาดุกทะเล (Plotosus canius Hamilton, 1822) ในระบบน้ำหมุนเวียน วลีรัตน์ มูสิกะสังข์ กฤษณา องอาจ พุทธ ส่องแสงจินดา.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ภาษาพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ผู้สอน ครูอุมาพร กังแฮ
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
แผ่นดินไหว.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
พฤติกรรมของสัตว์ กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
ความดัน (Pressure).
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
2. Reflex :-  พบในสัตว์ที่มี CNS  flat worm
ศาสนาเชน Jainism.
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรมของสัตว์ (Animal Behavior) โดย... ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ

พฤติกรรม (Behavior) หมายถึง กิริยาการกระทำ หรือการแสดงออกของสิ่งมีชีวิต เพื่อตอบสนองสิ่งเร้าหรือสิ่งที่มากระตุ้น (Stimulus) ซึ่งอาจเกิดทันทีหรือหลังจากได้รับสิ่งกระตุ้นมาแล้วระยะหนึ่ง

แบบแผนการแสดงพฤติกรรมในสัตว์ที่มีระบบประสาท สิ่งเร้าภายใน หน่วยรับความรู้สึก (Receptor) สิ่งเร้าภายนอก เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (Sensory neuron) พฤติกรรม (Behavior) ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) หน่วยปฏิบัติงาน (Effectors) เซลล์ประสาทสั่งการ (Motor neuron) ต่อม, กล้ามเนื้อ, อวัยวะภายใน

1. พฤติกรรมมีมาแต่กำเนิด (innate/inherited behavior) ประเภทของพฤติกรรม 1. พฤติกรรมมีมาแต่กำเนิด (innate/inherited behavior) 1.1 Orientation 1.1.1 Kinesis 1.1.2 Taxis 1.2 Reflex  พบในสัตว์ที่มี CNS 1.2.1 Simple reflex 1.2.2 Chain of reflexes or Fixed action pattern (FAP)

พฤติกรรมที่มาแต่กำเนิด  ถูกควบคุมโดยยีน (gene) จึงสามารถถ่ายทอดได้ทางพันธุกรรม ดังนั้นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน (Same species) จึงแสดงออกเป็นพฤติกรรมแบบแผนเดียว เมื่อได้รับสิ่งเร้าเหมือนๆ กัน (Stereotype)  แสดงได้ทันที ภายหลังเกิด หรือเมื่อร่างกายมีความพร้อม  บางพฤติกรรมไม่ค่อยมีการปรับเปลี่ยนโดยการเรียนรู้เป็น Species-specific เช่น การเกี้ยวพาราสี ซึ่งขึ้นอยู่กับทั้งอายุ ความพร้อมของระบบสืบพันธุ์ ระบบประสาท และฮอร์โมน  สามารถพัฒนาให้ดีขึ้นได้ด้วยการเรียนรู้ เช่น การจิกอาหารของไก่ การสร้างรังของนก

การเรียนรู้กับนกตัวอื่น  ในสัตว์ชั้นสูง สัญชาตญาณ (Instinct) จะร่วมกับการเรียนรู้ในการแสดงพฤติกรรม เช่น การส่งเสียงร้องของนก การเรียนรู้กับนกตัวอื่น  เป็นประโยชน์ต่อสัตว์ที่มีช่วงอายุสั้น หรือสัตว์ที่ไม่มีพ่อแม่เลี้ยงดู เพราะพร้อมที่จะแสดงออกตั้งแต่แรกเช่นใน ต่อ แตน เมื่อออกจาก pupa ซึ่งอยู่ใต้ดินในฤดูใบไม้ผลิ แต่พ่อแม่ได้ตายไปก่อนตั่งแต่ฤดูร้อนตัวเมียต้องผสมกับตัวผู้ โดยเริ่มแสดงพฤติกรรมต่างๆ ด้วยตัวเอง เช่น  เริ่มขุดรูสร้างรังเป็นห้องๆ  วางไข่และปิดช่องรัง 2–3 weeks  ตัวผู้และตัวเมียตาย

ลักษณะเด่นของ Inherited behavior 1. แบบของพฤติกรรมที่แสดงออกจะเหมือนกัน  FAP เช่น การสร้างรังของต่อ แตน การเกี้ยวพาราสีของสัตว์แต่ละ Sp. 2. พฤติกรรมพร้อมที่จะแสดงออกได้ทันทีเมื่อมีสิ่งกระตุ้นง่ายๆ ธรรมดาเท่านั้น แต่ถ้าสิ่งกระตุ้นซับซ้อน  สัตว์จะนิ่งเฉยไม่แสดงพฤติกรรม/ตอบสนองเฉพาะเพียงบางส่วนเท่านั้น

ประเภท Inherited behavior 1. Orientation :- 1.1 Kinesis  Protozoa/สัตว์ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางกายภาพภายนอก โดย:- 1) มุม/ทิศที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าไม่คงที่ไม่แน่นอน  เปลี่ยนมุม, ทิศ Klinokinesis  Paramecium เคลื่อนเข้า-ออก ทิศไม่แน่นอน (random) ฟองก๊าซ CO2 อุณหภูมิสูงๆ

2) เปลี่ยนความเร็วในการเคลื่อนที่ เมื่อ [สิ่งเร้า] เปลี่ยนไป 2) เปลี่ยนความเร็วในการเคลื่อนที่ เมื่อ [สิ่งเร้า] เปลี่ยนไป Orthakinesis  เหาไม้ (Sowbugs or woodlice) (สิ่งเร้า) มืด, ชื้น อยู่นิ่งๆ สว่าง แห้ง กระโดดไปมา อยู่นิ่งๆ  พื้นนุ่มๆ ขรุขระ  แมลงสาบ วิ่งไปมา  พื้นแข็ง, เรียบ speed วิ่งช้าๆ  มืด  Planaria ว่ายเร็ว  สว่าง มืด แสงสว่าง

1.2 Taxis  สัตว์ตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางกายภาพภายนอกโดยทิศ/มุมที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าคงที่สัมพันธ์กันแน่นอน สิ่งแวดล้อมชี้นำ ขึ้นกับอาหาร Taxis :- สภาวะทางเพศ/ช่วงการพัฒนาของร่างกาย ช่วงเวลาของวัน

I. Klinotaxis  สัตว์ตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยการเคลื่อนที่ตรงเข้าหา/ออกจาก การหมุนตัวอย่างมีทิศทางแน่นอน/ ออกจากเส้นเตรงอย่างคงที่ เกิดการรวมกลุ่ม อย่างมี ประสิทธิภาพ สิ่งเร้าด้วย :- การหมุนกลับด้วยจังหวะสม่ำเสมอ หมุนแบบมีทิศทางแน่นอน

Musca domestica Larva Pupa ให้แสงเป็นสิ่งเร้า  หนอนแมลงวัน (maggot larva) Musca domestica Larva Pupa คลานจากบริเวณที่มีอาหารที่มืด กินอาหารมาก หยุดกินอาหาร ให้แสงเป็นสิ่งเร้า อยู่ในที่มืด 3 – 4 วัน (Photonegative) (Photoreceptor อยู่ปล้องแรก) เคลื่อนที่โดยยีนปล้องแรกออกมา แสงจากทางซ้ายหันหัวหนี หันหัวหนีแสงจากทางขวา สัตว์ใช้อวัยวะรับความรู้สึกในการเปรียบเทียบ (แสง)

II. Tropotaxis  เคลื่อนที่เข้าหา/ออกจากสิ่งเร้า โดยใช้ receptor อย่างน้อย 2 อัน ในการเปรียบเทียบ (สิ่งเร้า)  Planaria  ว่ายน้ำไปตรงๆ โดยเปรียบเทียบ (แสง) จาก 2 แหล่ง

แสง มืด สัตว์ ตาซ้ายถูกกระตุ้นมากกว่าตาขวา (Asymmetry stimulation)  ทดลองในสัตว์ที่เป็น Photopositive แสง มืด สัตว์ แสงจากทางซ้าย ตาซ้ายถูกกระตุ้นมากกว่าตาขวา (Asymmetry stimulation) turning reflex } ตา 2 ข้างรับแสงเท่ากัน สัตว์จะหมุนตัวและเคลื่อนที่เพื่อปรับให้เกิด Symmetry stimulation และเคลื่อนที่เข้าหาแสง

x แสง แนวการเคลื่อนที่ แสง  ทดลองทำ two light experiment  ใช้แสงจาก 2 ตำแหน่งโดยให้ลำแสงตั้งฉากกัน  สัตว์จะเคลื่อนที่ตัวมาทางเส้นแบ่งครึ่งมุมตามแนว 45 x แสง แนวการเคลื่อนที่ แสง

 ไม่มี Statocyst (อวัยวะสำหรับการทรงตัว)  Dorsal light reaction  เป็น Tropotaxis ลักษณะหนึ่งโดยสัตว์ใช้ตัวรับความรู้สึก 2 อันในการเปรียบเทียบ (สิ่งเร้า) พบในสัตว์น้ำ  Arthropod (Chirocephalus)  หงายท้องว่ายน้ำ  ไม่มี Statocyst (อวัยวะสำหรับการทรงตัว) Fish louse (Argulus sp.)  มี Statocyst แต่หงายท้องว่ายน้ำ  มีพฤติกรรม dorsa light reaction เนื่องจากทิศทางของแสงมาจากด้านใต้น้ำ ฉายแสงด้านบน ฉายแสงด้านข้าง เกิด dorsal light reaction โดยหันหลังเข้าหาแสงและตั้งฉากกับแสง หันหลังตั้งฉากกับแสง

ตัดอวัยวะรับความรู้สึกในการทรงตัว ออกจากหูส่วนใน  ตามปกติปลาว่ายน้ำในลักษณะที่ด้านหลัง (dorsal) อยู่ด้านบนขนานไปกับผิวน้ำ  ลำตัวตั้งฉากกับแสง  Holst (1935) ทดลองในปลา Crenilabrus rostratus  การจัดตัวขึ้นกับ dorsal light reaction และอวัยวะการทรงตัวด้วย ปลามีอวัยวะครบถ้วน ตัดอวัยวะรับความรู้สึกในการทรงตัว ออกจากหูส่วนใน การจัดตัวถูกควบคุมด้วย อวัยวะในการทรงตัวและทั้ง dorsal light reaction จัดตัวโดยแสดง dorsal light reaction เต็มที่โดยเอาหลังเข้าหาแสงตั้งฉากกับแสง

พฤติกรรม dorsal light reaction พบในสัตว์ โดย:-  Annelids  Polychaetes  Crustaceans เช่น Daphnia  Fishes เป็น vertebrate กลุ่มเดียวที่มีพฤติกรรมนี้

III. Telotaxis  การเคลื่อนที่ไปด้านใดด้านหนึ่งทั้งๆ ที่มี สิ่งเร้า 2 ทิศทาง สัตว์จะนิ่งเฉยต่อสิ่งเร้าอีกอันโดยสิ้นเชิง  Crustacean : Hemimysis lamornei ฉายแสง 2 ทิศทาง ฉายแสงทางด้านข้างอ่าง ว่ายน้ำตัดกันไปมา แบ่งเป็น 2 พวก ขึ้นกับว่าตัวรับรู้ความรู้สึก อันไหนไวก็จะยึดถืออันนั้นและ นิ่งเฉยต่ออีกสิ่งเร้าหนึ่ง สัตว์ตอบสนองเป็น 2 พวก ว่ายเข้าหา ว่ายหนี สันนิษฐานว่ามี Central inhibition

ใช้แสงและความชื้นเป็นหลัก 4. Menotaxis (light compass reaction)  ใช้แสงเป็นเข็มทิศว่า จะเคลื่อนที่เข้าหา/ออกจากสิ่งใด  ผึ้ง/มด  กลับรัง/ออกหาอาหารโดยใช้ sun เป็นเข็มทิศ โดยเมื่อ sun เคลื่อนที่ไป สัตว์พวกนี้จะเคลื่อนที่ตามไปแต่ยังคงรักษามุมเท่าเดิม  มี biological clock เป็นตัวรับรู้ภายในว่า sun อยู่ที่ตำแหน่งใด  Daphnia ในทะเล  จับมาบนบก  กระโดดกลับในทิศ ที่มีทะเล ใช้แสงและความชื้นเป็นหลัก

 Arthropod  มี Compound eyes รับภาพ เมื่อตอนออกจากรัง ถ้าดวงอาทิตย์อยู่ทางซ้าย  เมื่อจะกลับรังสัตว์จะรู้ว่าดวงอาทิตย์จะต้องอยู่ทางขวา  ปลา perch (คล้ายปลาตะเพียน)  อยู่ในทะเลสาบที่มีอุณหภูมิคงที่ โดยปลานี้มีแหล่งอาหารและแหล่งพักผ่อนคนละที่  ว่ายน้ำกลับไปมาโดยใช้ sun (sun compass reaction) และ biological clock ร่วมกัน

 ช่วงเวลาในการออกหากินของสัตว์ Nocturnal animal  Rhythm ของสัตว์เป็น menotaxis เช่น  นก เริ่มต้นร้องเพลง สร้างรัง เกี้ยว ในฤดูใบไม้ผลิของแต่ละปี  annual rhythm  สัตว์ที่อยู่ตามชายทะเลจะมี activities ต่างๆ เพิ่มขึ้นขณะน้ำขึ้น  tidal rhythm  หนอน palolo ขึ้นมาวางไข่บนผิวน้ำตอนพระจันทร์ขึ้น  solar rhythm โดยกลางคืนสีตัวจางและค่อยๆ เข้มขึ้นเรื่อยๆ ในตอนกลางวัน  จางลงอีกในตอนกลางคืน Diurnal animal  ช่วงเวลาในการออกหากินของสัตว์ Nocturnal animal  ผึ้ง บินออกไปหาน้ำหวานในช่วงดอกไม้บานได้ถูกเวลา โดยใช้ biological clock ซึ่งดอกไม้จะบานและหุบได้ในช่วง 24 ชั่วโมง  circadian rhythm

 ทดลองเปลี่ยน biological clock ของสัตว์ โดยทำให้เป็น 20, 30 ชั่วโมง พบว่าพฤติกรรมในรอบ 24 ชั่วโมง ยังคงดำเนินไปตามปกติ บางครั้ง ความหิว มีความสำคัญมากกว่า โดยทำการทดลองใน Daphnia ที่กำลังหิว แม้จะฉายแสงสีแดงก็ตาม สัตว์จะตอบสนองแบบฉายแสงสีน้ำเงินเพื่อหาอาหาร (Searching dance)

5. Geotaxis  ตอบสนองต่อแรงดึงดูดโลก โดยสัตว์มีอวัยวะใช้รับความรู้สึกเกี่ยวกับแรงดึงดูดโลก (gravity)  ตัวอ่อนผีเสื้อ (caterpillar) เมื่อจะเจริญไปเป็นดักแด้ (pupa)  แสดง Positive geotaxis โดยเคลื่อนตัวลงจากตัวไม้ แต่เมื่อออกจากดักแด้เป็นตัวเต็มวัยจะแสดง negative geotaxis คลายขึ้นข้างบน  ตากปีกให้แห้ง  Arthropods ใช้ Statocyst (ที่หนวด) เป็นตัวรับความรู้สึก gravity โดยทุกครั้งที่ลอกคราบ Statocyst จะหลุดไปและจะสร้างขั้นใหม่ โดยใช้ ทราย ผสมกับ เมือก เป็น Statocyst ลักษณะเป็นถุง ประกอบด้วย Statolith เป็นก้อนหินทรายวางอยู่บน chitinous hair ภายในมี dendrite ของ sensory neuron ขนนี้ยึดติดกับผนัง Statocyst อีกทีหนึ่ง

 ใส่ไว้ในอ่างไม่มีทราย แต่มีผง Fe แทน ทดลองในกุ้งน้ำจืด (crafish) อาศัยในน้ำกร่อย  มี Statocyst 1 คู่ ที่หนวด ตอนจะลอกคราบเคลื่อนที่ช้ามาก  ใส่ไว้ในอ่างไม่มีทราย แต่มีผง Fe แทน เมื่อสร้าง Statocyst จะดึง Fe ไปและปล่อยเมือกมาหุ้มเป็น Statolith เกิดแรงดึงดูดของโลกกับผง Fe ใน Statolith ใช้แม่เหล็กมาวางอยู่เหนือตัวสัตว์ สัตว์จะหงายท้องขึ้นทันที  ปกติจะต้องหันท้องเข้าหาแรงดึงดูดโลก

6. Phonotaxis  การตอบสนองต่อเสียงโดยเคลื่อน เข้าหา หนี  ผีเสื้อกลางคืน หนี ultra sonic sound ของค้างคาว  จิ้งหรีดตัวเมียเข้าหาลำโพงเสียงร้องตัวผู้  กบตัวเมีย ว่ายเข้าหาเสียงร้องของตัวผู้  ลูกไก่ วิ่งเข้าหาเสียงร้องของแม่ไก่  เสียงข่มขู่ ไม่ให้สัตว์ตัวอื่นเข้ามา แต่ให้หนีไป  Echolocation ของค้างคาว, โลมา