โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
Advertisements

ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
อาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
โดย มณเฑียร ม่วงศรีศักดิ์. เขต สุจริต สพฐ. ใส สะอาด.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สุจริตตามรอยพ่อ ขอทำดีเพื่อแผ่นดิน
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
“คลายทุกข์ สุขใจ ใกล้ประชาชน”
ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment: ITA Online) ประจำปีงบประมาณ.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ร่าง ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment) (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ อันดับที่ 69 ของหน่วยราชการ.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การดำเนินงานต่อไป.
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment - ITA) อาจารย์วีระชน เปรมศรี อาจารย์ศราวุฒิ สำรวมดี

ITA คืออะไร ? เนื้อหาส่วนที่ 1 ITA 2560 Integrity and Transparency Assessment: ITA

(Integrity and Transparency Assessment : ITA) การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ที่ครอบคลุมการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภาครัฐในทุกมิติ การประเมินภายในองค์กร การประเมินภายนอกองค์กร แบบสำรวจใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence - Based) แบบสำรวจความคิดเห็นภายใน (Internal) แบบสำรวจความคิดเห็นภายนอก (External) การประเมิน ในเชิงบวก

พัฒนาการ+การดำเนินการปี 52-60 เนื้อหาส่วนที่ 2 พัฒนาการ+การดำเนินการปี 52-60 ITA 2560 Integrity and Transparency Assessment: ITA

ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA Integrity and Transparency Assessment: ITA ปี 2552 - 2553 ลงนาม MOU กับคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตและสิทธิพลเมืองสาธารณรัฐเกาหลี (ACRC) เพื่อพัฒนาโครงการต่อต้านการทุจริตร่วมกัน ศึกษากรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างเครื่องมือวัดระดับการทุจริตและเพื่อพัฒนาดัชนีวัดความโปร่งใส ผลการนำร่องทดลองใช้เครื่องมือดังกล่าว นำมาสู่การพัฒนากรอบแนวคิดในการประเมินความโปร่งใส เริ่มนำร่องทดลองใช้เครื่องมือดัชนีวัดความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Transparency Index) 8 หน่วยงาน (ราชการส่วนกลาง)

ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA Integrity and Transparency Assessment: ITA ปี 2554 คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติให้บูรณาการเครื่องมือการประเมินที่ใช้ในการต่อต้านการทุจริตทั้ง 2 เครื่องมือ Transparency Index + Integrity Assessment การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA)”

ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA Integrity and Transparency Assessment: ITA ปี 2555 - 2556 นำเครื่องมือ ITA มาทดลองใช้ครั้งแรก โดยมีหน่วยงานภาครัฐนำร่อง 4 ประเภท คือ ราชการส่วนกลาง(2) ราชการส่วนภูมิภาค(2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(2) และรัฐวิสาหกิจ(2) รวมทั้งสิ้น 8 หน่วยงาน คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีมติเห็นชอบในหลักการให้นำระบบการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ไปปฏิบัติในปี พ.ศ. 2557 - 2560

ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA Integrity and Transparency Assessment: ITA ปี 2557 - 2559 พ.ศ. 2558 สำนักงาน ป.ป.ช. สำนักงาน ป.ป.ท. และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้ดำเนินการประเมินหน่วยงานภาครัฐทั่วประเทศ จำนวน 8,197 หน่วยงาน พ.ศ. 2557 สำนักงาน ป.ป.ช. ได้ดำเนินการ ดำเนินโครงการอย่างเต็มรูปแบบเป็นครั้งแรก มีกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ จำนวน 259 หน่วยงาน พ.ศ. 2559 สำนักงาน ป.ป.ช. และ สำนักงาน ป.ป.ท. ได้ดำเนินการประเมิน โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐจำนวน 426 หน่วยงาน

ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA Integrity and Transparency Assessment: ITA ปี 2560 สำนักงาน ป.ป.ช. กำกับติดตามการประเมิน องค์กรอิสระ องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ รัฐวิสาหกิจ สำนักเลขาธิการ ส.ส. ส.ว. สำนักงาน ป.ป.ท. กำกับติดตามการประเมิน หน่วยงานภาครัฐส่วนกลาง หน่วยงานภาครัฐส่วนภูมิภาค กรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น กำกับติดตามการประเมิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กำกับติดตามการประเมิน สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ รวมจำนวน 8,297 หน่วยงาน

ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตระยะที่ 3 ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต ZERO TOLERANCE & CLEAN THAILAND สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อ การทุจริต ยกระดับเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต สกัดกั้นการทุจริต เชิงนโยบาย CPI 2560-2564 ? 50 พัฒนาระบบป้องกัน การทุจริตเชิงรุก ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต ยกระดับคะแนนดัชนี การรับรู้การทุจริตของประเทศไทย (CPI)

ความสำคัญของ ITA เนื้อหาส่วนที่ 3 ITA 2560 Integrity and Transparency Assessment: ITA

CPI CPI หมายถึง ดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perception Index) คือ ค่าคะแนนการรับรู้การทุจริตของ แต่ละประเทศซึ่งสะท้อนมุมมองต่อสถานการณ์และ ความรับรู้จากข้อมูลและประสบการณ์จริงที่เกิดขึ้นในประเทศนั้นๆ ดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perception Index - CPI) เช่น นโยบายทางเศรษฐกิจ การบังคับใช้กฎหมาย ปัญหาการทุจริต ประสิทธิภาพในการบริหารประเทศของรัฐบาล โดยกระบวนการรวบรวมข้อมูลและประมวลผลค่าคะแนนจากผลการประเมินของแหล่งข้อมูลที่มีเชื่อถือ และมีความเป็นสากลจำนวนรวมทั้งหมด 12 แหล่ง สำหรับประเทศไทยใช้ผลการประเมินจาก 8 แหล่ง ซึ่งดำเนินการโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International-TI)

ดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชันของไทย ปี 2538 - 2559 2558 38 (เต็ม 100) 76 168 2559 35 (เต็ม 100) 101 176

ดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชั่น (CPI 2015) อันดับที่ 12 ในเอเชีย อันดับที่ 3 ในอาเซียน

ดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชัน (CPI 2016) อันดับที่ 16 ในเอเชียแปซิฟิก อันดับที่ 5 ในอาเซียน COUNTRY SCORE RANK Singapore 84 7 Brunei 58 41 Malaysia 49 55 Indonesia 37 90 Philippines 35 101 Thailand Vietnam 33 113 Laos 30 123 Myanmar 28 136 Cambodia 21 156

หนังสือแจ้งมติ ครม. เรื่องการประเมิน ITA

หนังสือแจ้งมติ ครม. เรื่องการประเมิน ITA (ต่อ)

มติสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ITA มติสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ Integrity and Transparency Assessment: ITA ทุกหน่วยงานจะต้องมีการประเมินตนเอง ผ่านโครงการประเมินคุณธรรมและ ความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ และนำผลการประเมินไปวิเคราะห์สังเคราะห์เพื่อใช้ในการปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงาน

หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี