บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การบริหาร หมายถึง การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การใช้แผนที่วางไว้ การทำงานให้สำเร็จโดยอาศัยผู้อื่น
ลักษณะงานบริหาร เป็นกระบวนการ เป็นวิชาการ เป็นกลุ่มคน เป็นงานอาชีพ
การบริหารศาสตร์ ผู้บริหารจะต้องตัดสินใจแน่นอน ใช้เทคนิคการคำนวณในการตัดสินใจ การตัดสินใจโดยยึดผลส่วนรวม
หน้าที่ของผู้บริหาร การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การควบคุม
กระบวนการบริหาร POSDCoRB Planning O Organizing S Staffing D Directing Co Coordinating R Reporting B Budgeting
การจัดทำงบประมาณ งบประมาณการขาย งบประมาณค่าใช้จ่ายและโฆษณา งบประมาณการผลิต งบประมาณเงินสด งบประมาณค่าใช้จ่ายอื่น ๆ งบประมาณคาดการณ์งบการเงิน
ทักษะของผู้บริหาร ด้านความคิด ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านเทคนิค
ทักษะทางด้านมนุษยสัมพันธ์ ทักษะทางด้านความคิด ระดับสูง ระดับกลาง ทักษะทางด้านมนุษยสัมพันธ์ ทักษะทางด้านเทคนิค ระดับต่ำ
หน้าที่ผู้บริหารระดับสูง 1. นำวิสัยทัศน์และนโยบาย จากคณะกรรมการบริหารมาแปลความหมายพร้อมทั้งกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ออกมาเป็นเป้าหมายระดับสูง ซึ่งเป็นการกำหนดในระยะเวลาช่วงที่เหมาะสมและสั้นลงภายใน 1 ปี 2. กำหนดนโยบายประจำปี 3. ธุรกิจจะทำงานอะไรบ้าง
หน้าที่ผู้บริหารระดับกลาง 1. ศึกษาแผนประจำปี แล้วพิจารณาว่าเกี่ยวข้องกับฝ่ายตนเองอย่างไร แล้วนำมาแปลผลเพื่อกำหนดเป็นวัตถุประสงค์ระดับฝ่าย 2. กำหนดกลยุทธ์ว่าจะทำอะไรบ้าง อย่างไร 3. กำหนดหน้าที่ต่างๆ ที่จะต้องทำให้เป็นไปตามแผน
หน้าที่ของผู้บริหารระดับต้น 1. ศึกษาแผนงานประจำแผนก แล้วพิจารณาว่ามีส่วนใดที่เกี่ยวข้อง แล้วนำมาเป็นเป้าหมายและปฎิบัติ 2. กำหนดกลยุทธ์ในการทำงานให้บรรลุแผนงาน 3. มีกิจกรรมใดบ้างที่ต้องทำ
หลักการบริหาร หลักการประหยัด หลักประสิทธิภาพ หลักประสิทธิผล หลักความยุติธรรม หลักความซื่อสัตย์
หลักในการบริหารบุคคล ระบบคุณธรรม - ความเสมอภาค - ความสามารถ - ความมั่นคง - ความเป็นกลางทางการเมือง
ระบบอุปถัมภ์ พวกพ้อง เครือญาติ ผู้มีอุปการะคุณ
หน้าที่ฝ่ายบุคคล การวิเคราะห์งาน การวางแผนกำลังคน การสรรหาและคัดเลือก การบรรจุและปฐมนิเทศ การอบรมและพัฒนาบุคลากร
การโยกย้าย เลื่อนตำแหน่ง ออก การสร้างแรงจูงใจ การจัดสวัสดิการ การวินัยและการร้องทุกข์ การนิเทศงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การแรงงานสัมพันธ์
การอำนวยการ หมายถึง การใช้ภาวะผู้นำในการตัดสินใจการ มอบหมายหน้าที่การงาน การประสานงาน การตรวจสอบ แนะนำ และจูงใจผู้ใต้บังคับบัญชา
ข้อเสนอแนะในการอำนวยการ การมีส่วนร่วมในการบริหาร ศึกษาระบบการทำงาน การจัดหาทรัพยากรต่าง ๆ ดูแลกิจกรรมสำนักงานตามกฏ สร้างความสัมพันธ์ในแผนก
ลดความสูญเปล่าทางด้านวัสดุ สำรวจความคิดเห็นของพนง. สร้างผู้ช่วยที่มีความสามารถ ให้ความช่วยเหลือ แนะนำ รายงานฝ่ายจัดการระดับสูง
การควบคุม หมายถึง การตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาว่าเป็นไปตามแผนหรืองานที่ได้มอบหมายให้หรือไม่ หากมีอุปสรรคหรือปัญหาต้องทำการแก้ไขและตัดสินใจ
กระบวนการควบคุม การจัดตั้งมาตรฐาน *ด้านปริมาณ *ด้านคุณภาพ *ด้านเวลาในการปฏิบัติงาน *ด้านค่าใช้จ่าย
การวัดผลงาน *การบันทึกเวลาการปฏิบัติ *การสุ่มตัวอย่าง *การใช้นาฬิกาจับเวลา *การกำหนดมาตรฐานล่วงหน้า
เครื่องมือที่ใช้ในการควบคุม การควบคุมโดยใช้งบประมาณ การควบคุมโดยใช้ PERT การควบคุมโดยใช้แกนต์ชาร์ท การควบคุมโดยใช้แบบฟอร์ม การควบคุมโดยใช้รายงาน
การควบคุมโดยใช้คู่มือ กลุ่มคุณภาพ