การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุปิยา ลิมป์กฤตนุวัตร์ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
Advertisements

27/07/56 The Execution Premium: Linking Strategy to Operations for Competitive Advantage By Robert S. Kaplan David P. Norton Translated By: Asst. Prof.
MG415 Current Issues in Modern Management
การประเมินองค์กรแบบสมดุล (The Balance Scorecard by Kaplan & Norton)
IQA network Why and How to ?
ดร. ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ ก.พ.ร..
: Policy Deployment Concept
การบริหารเชิงกลยุทธ์แบบบูรณาการ
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
การจัดการ (Management)
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1 1 การพัฒนาภาวะผู้นำ กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง อนุชิต ฮุนสวัสดิกุล สำนักงาน ก.พ.ร.
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
( ประเด็น ) ยุทธศาสตร์ และ ตัวชี้วัด และ ตัวชี้วัด.
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
LOGO “ Add your company slogan ” แผนปฏิบัติการ ประจำปี ของสถานศึกษา ดร. จิมมี่ ทองพิมพ์ ณ โรงแรมสยามริ เวอร์ รีสอร์ท รายละเอียดเพิ่มเติม
เครื่องมือการประเมินองค์กรแบบสมดุล การผลักดันยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ
Strategy Map วิสัยทัศน์ : “เป็นองค์การที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการและคุ้มครองสิทธิการถือครองที่ดินของรัฐและประชาชน มุ่งเน้นการให้บริการโดยบริหารจัดการที่ดี
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
พิทยา ไพบูลย์ศิริ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์องค์กร สู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
ผศ.ดร.กมลพร สอนศรี คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Balanced Scorecard and Individual Scorecard
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การจัดการเชิงกลยุทธ์
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล และเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล.
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
The Balanced Scorecard & KPI
การบริหารเชิงกลยุทธ์
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองแห่งชาติ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
การทำงานเชิงวิเคราะห์
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
TIM2303 การขายและตลาดอุตสาหกรรมท่องเที่ยว SALE & MARKETING IN Tourism Industry อ.เอกชัย สีทำมา.
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
นโยบายสาธารณะและการวางแผน Public Policy & Planning
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ระดับพื้นฐาน (FL)
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
องค์ความรู้ การจัดทำดัชนีชี้วัดและการกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน (Key Performance Indication : KPI) สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา.
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
Line Manager is Leader.
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
กลไกการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
คำถามที่ 1 ๒.๔ การวิเคราะห์ศักยภาพของอำเภอ ๑) ด้านเศรษฐกิจ
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ขอบเขตการบรรยาย การนำทฤษฎี ERM สู่การปฏิบัติ
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์ บทที่ 2. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร

การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ (Strategic analysis) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ ซึ่งในการวิเคราะห์ เชิงกลยุทธ์จะประกอบด้วยกิจกรรมที่สำคัญได้แก่ การกำหนด วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้าประสงค์ (Goal ) และ/หรือ วัตถุประสงค์ (Objective) เป้าหมาย ( Target ) นโยบายองค์การ (Organization policy) ตามแต่ละองค์การจะเลือกกำหนดใช้

ความสัมพันธ์ระหว่างวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมาย มีลักษณะนามธรรม สู่ ปรับเพื่อความเหมาะสม พัฒนาสู่ พันธกิจ ทบทวนเพื่อความชัดเจน พัฒนาสู่ เป้าหมาย ควรผ่านกระบวนการวิเคราะห์ SWOT เพื่อให้ได้กลยุทธ์เชิงรุก การบริหารเชิงกลยุทธ์ ทบทวนเพื่อความชัดเจน พัฒนาสู่ กลยุทธ์ พัฒนาสู่ ตั้งรับหรือถอย การวางแผนเชิงกลยุทธ์ รูปธรรม ผลที่ได้ : ความสำเร็จหรือล้มเหลว นำไปปฏิบัติ

ประเภทของการตัดสินใจในการบริหารจัดการ การตัดสินใจเชิงปฏบัติการ เช่น การสั่งซื้อวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ การซ่อมแซมระบบสาธารณูปโภค การตัดสินใจจะเป็นไปตามระเบียบกติกาที่กำหนดไว้ชัดเจน เช่น วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงิน

การตัดสินใจเชิงบริหาร เป็นเชิงหลักการของความสมเหตุสมผล เพื่อจัดการในเรื่องงาน คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ ซึ่งเป็นไปตามหลักการบริหาร ความโปร่งใส หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความคุ้มค่า หลักความเสมอภาค หลักการมีส่วนร่วม การบริหารงานสมัยนั้นต้องให้พนักงานมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ในเรื่องของการวางแผน นโยบาย หลักฉันทามติ การมีส่วนร่วมในการแสดงออกทางจิตใจที่ดีงาม ไม่มีข้อขัดแย้งทางใจ เป็นที่ยอมรับในที่ประชุม

หลักความโปร่งใส จะครอบคลุมการบริหารจัดการ งบประมาณการเงิน การบัญชี หลักนิติธรรม เป็นการบริหารที่มีความชัดเจนทั้งในหลักการและกระบวนการของการบริหาร เช่น ต้องมีการกำหนดค่าจ้าง มาตรฐานงานที่ชัดเจน กำหนดลักษณะเฉพาะของงานสามารถอธิบายงานได้ หลักความเสมอภาค เป็นการแสดงออกขององค์การ ผู้บังคับบัญชาต้องปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเท่าเทียมกัน โครงสร้างของเงินเดือน ระบบค่าตอบแทน ระเบียบกฎเกณฑ์จะต้องเท่าเทียมกัน

หลักคุณธรรม โดยเฉพาะ การตัดสินใจในงานจะต้องไม่นำมาปะปนกันเรื่องส่วนตัว ต้องแยกอารมณ์ความรู้สึกส่วนตัวออกจากงาน เช่น การประเมินผลการปฏิบัติงานจะต้องคำนึงถึงความสามารถของพนักงาน ข้อควรพึงระวังในการประเมินผลการปฏิบัติงานไม่ควรอย่างยิ่งที่ให้มีการเปรียบเทียบผลงานระหว่างพนักงานด้วยกัน

หลักความคุ้มค่า ประสิทธิภาพ เป็นการเปรียบเทียบผลงานที่ได้กับต้นทุนค่าใช้จ่ายใช้จ่ายที่เสียไปต่อหน่วยต่ำที่สุด ประสิทธิผล การปฏิบัติงานอาจต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูงจึงจะสัมฤทธิ์ เช่น งานวิจัย งานพัฒนา

หลักความรับผิดชอบ การบริหารงานสมัยใหม่ที่ผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหารต้องมีความรับผิดชอบต่อความสำเร็จหรือความล้มเหลว เช่น พนักงานมีความรับผิดชอบต่อระเบียบกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้ เช่น งานล่าช้า สินค้าบริการไม่ได้มาตรฐานสมควรได้รับโทษทางวินัย ทางแพ่ง/ทางอาญา

การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ ระบบโครงสร้าง (Structure system) ได้แก่ โครงสร้างองค์การ โครงสร้างการบริหาร เช่น โครงสร้างตำแหน่ง โครงสร้างเงินเดือน ค่าตอบแทน ระบบเทคโนโลยี (Technology system) การประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการขั้นตอนการบริหารงานภายใน รูปแบบระบบ อินทราเน็ต ระบบงาน (Work system) การวางระบบการบริหารงานผลิต การบริหารงานบัญชี การเงิน พัสดุ การตรวจสอบภายใน การออกแบบ

แคปแลน และนอร์ตัน (Kaplan and Norton) แคปแลน และนอร์ตัน (Kaplan and Norton) ได้กล่าวไว้ในหนังสือ “The Strategy-Focused Organization” ว่า ความสามารถในการดำเนินการให้ได้ตามแผนกลยุทธ์นั้นมีความสำคัญยิ่งกว่าคุณภาพของตัวแผนกลยุทธ์เอง การแปลงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติถือเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการกำหนดค่าของการบริหารจัดการ

โดยประกอบออกมา เป็นกลุ่มตัวชี้วัดใน 4 มุมมอง (Perspectives) คือ มุมมองด้านการเงิน (Financial Perspective) มุมมองด้านลูกค้า (Customer Perspective) มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) มุมมองด้านการเรียนรู้และการเติบโต (Learning and Growth Perspective)

แสดงดุลยภาพทางการบริหาร มิติทางการเงิน (Financial Perspective) ดุลยภาพการบริหาร (Balance Scorecard มิติกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) มิติลูกค้า Customer Perspective) มิตินวัตกรรมและการเรียนรู้ (Innovation & Learning Perspective)

การบริหารเชิงกลยุทธ์ ไม่ใช่เชิงกลยุทธ์ @ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบไม่ชัดเจน @ ไม่มีการวางแผนในการบริหารคน เงิน พัสดุ กำไร – ขาดทุน @ ไม่มีข้อมูลในการตัดสินใจ @ การวางแผนเป็นลักษณะของการเพิ่มเติมจากแผนเดิม @ ผู้บริหารไม่มีทักษะการบริหารหรือใช้กฎเกณฑ์ทางเทคนิคมาบริหารคน @ ขาดความเชื่อมโยงวิธีการ @ การตัดสินใจไม่มีหลักการ @ เน้นการบริหารเรื่องการเงินมาก่อนเรื่องอื่น

การบริหารเชิงกลยุทธ์ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจน มีการวางแผน การบริหารคน เงินพัสดุ กำไร – ขาดทุน มีข้อมูลที่เพียงพอในการตัดสินใจ มีการมอบหมายงานอย่างชัดเจนให้พนักงานแต่ละระดับ มีการนำเทคนิคการวางแผนเชิงกลยุทธ์มาปรับใช้ ผู้บริหารมีความเข้าใจหลักการ เทคนิคการบริหาร มีความคิดเชิงบวก ร่วมกันแก้ปัญหา การตัดสินใจหลักธรรมภิบสล ให้น้ำหนักความสำคํญไม่เฉพาะแต่การเงิน

การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ต้องการระบบการทำงานที่คล่องตัว ต้องการดำเนินงานมีประสิทธิภาพสูงในการนำสู่เป้าหมายในอนาคต สามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เพื่อความอยู่รอด (Survive) และความก้าวหน้า (Growth) ขององค์การ ของหน่วยงาน หรือของธุรกิจของตนในอนาคต

การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การวางแผนกลยุทธ์หรือการวางแผนเชิงกลยุทธ์นี้ มีส่วนเป็นอย่างมากต่อการสร้างความเป็นผู้นำ (Leadership) หรือในการสร้างภาพลักษณ์ (Image) ที่แสดงถึงจุดเด่นของหน่วยงาน ขององค์การหรือของธุรกิจในการวางแผนกลยุทธ์นั้น จะมีการกำหนดเป้าหมายรวมขององค์การ สำหรับการดำเนินในอนาคต ที่เรียกว่า วิสัยทัศน์ มีการคิดในเชิงรุก มุ่งเอาดี เอาเด่น เอาก้าวหน้า ก้าวไกล มุ่งเอาชนะ เอาความยิ่งใหญ่ เน้นคุณภาพ เอาความเป็นเลิศ

แผนกลยุทธ์ในการจัดทำโครงสร้างค่าจ้างเงินเดือน กลยุทธ์ที่ได้จะต้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง (รู้เรา) โอกาสและภัยคุกคาม (รู้เค้า) โดยการวิเคราะห์นั้นจะต้องพิจารณาให้ครบทุกมิติของการบริหารงานสมัยใหม่ ได้แก่ ด้านการเงิน ด้านกระบวนการภายใน ด้านการเรียนรู้ การคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่และลูกค้า ตามแนวคิดของแคปแลน และนอร์ตัน การวิเคราะห์จะต้องมิใช่เป็นการวิเคราะห์แบบแยกส่วน หากแต่เป็นการวิเคราะห์แบบบูรณาการ (Integrated analysisวรที่จะนำเอาแนวคิดการบของอาจารย์ซุนและอาจารย์หวู่ “รู้เรารู้เขา รบร้อยครั้งมิแพ้พ่าย” หรือการวิเคราะห์สวอท (SWOT Analysis) ผนวกกับแนวคิดการบริหารแบบ “ดุลภาพการบริหาร” ของแคปแลนและนอร์ตัน

ระบบการบริหารค่าจ้างเงินเดือน แนวคิดในการบริหารค่าจ้างก็มาจากแนวคิดที่ว่าเมื่อมีจะการดำเนินกิจการใดๆ ก็ตามที่แสวงหาผลกำไร จำเป็นต้องมีการลงทุน และผลสำเร็จของการลงทุนคือการ "บริหารทุนอย่างมีประสิทธิภาพ จนเกิด ประสิทธิผลสูงสุด" นั่นคือการบริหารเครื่องจักร บริหารที่ดิน บริหารเงินและบริหารคนให้ "คุ้มค่าที่สุด"(มีประสิทธิภาพ)สำหรับการบริหาร "ทุน" ที่เป็นคนเราเรียกให้ไพเราะว่า การบริหารงานบุคคลบ้าง การบริหารทรัพยากรบุคคลบ้าง หรือการบริหารทรัพยากรมนุษย์บ้าง ถ้าเราจะพูดกันตรงๆ ตามแก่นเนื้อหาก็คือ "การบริหารค่าจ้าง" หมายความว่า การที่เราจ่ายเงินลงทุนในรูปของเงินเดือน-ค่าจ้างเพื่อซื้อ "ผลงาน" จากงานแต่ละตำแหน่ง

วิธีการบริหารงาน วิธีการบริหารงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานจริง การบริหารงานโดยยึดวัตถุประสงค์ การบริหารงานโดยยึดระบบ การบริหารงานโดยยึดข้อกำหนด การบริหารงานโดยยึดขั้นตอน ระเบียบกฎเกณฑ์ การบริหารโดยยึดรายละเอียด การบริหารตามสถานการณ์ การบริหารแบบยืดหยุ่น

การบริหารอย่างมีระบบ ปัจจัยป้อนเข้า กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ - วัตถุดิบ - คน - ความต้องการ - ความคิด - เทคโนโลยี - ประยุทธ์ใช้ความรู้ความชำนาญ - การประสานงาน - การวางแผน/การควบคุม - สินค้า - บริการ - ของเสีย - ความสูญเสีย ข้อมูลย้อนกลับ

ระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ทฤษฎีของโธมัส อาร์.ดาย (Thomas R. Dye) ตัวแบบเหล่านี้เป็นตัวแบบที่ง่ายและชัดเจนที่จะทำความเข้าใจทั้งระบบการเมืองและนโยบายสาธารณะ เช่น ตัวแบบกลุ่ม ตัวแบบผู้นำ ตัวแบบส่วนเพิ่ม บางตัวแบบวิเคราะห์ได้ทุก ๆ นโยบาย เช่น ตัวแบบสถาบัน ตัวแบบกระบวนการ ตัวแบบระบบสามารถนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวาง ตัวแบบมีเหตุผลแทบจะใช้ไม่ได้เลยในสภาพความเป็นจริง ตัวแบบทฤษฎีเกมใช้สำหรับนโยบายการป้องกันประเทศ

ทฤษฎีของ David Easton นโยบายสาธารณะ คือ การจัดสรรผลประโยชน์หรือคุณค่าแก่สังคม ซึ่งกิจกรรมของระบบการเมืองนี้จะกระทำโดยบุคคลผู้มีอำนาจสั่งการ ซึ่งสิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจที่จะกระทำหรือไม่กระทำเป็นผลมาจาก “การจัดสรรค่านิยมของสังคม” ทั้งนี้ Easton ได้ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้ตัดสินใจนโยบายกับประชาชนในสังคมว่า การตัดสินในนโยบายใด ๆ ของรัฐบาลจะต้องคำนึงถึงค่านิยมและระบบความเชื่อของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

ขอบข่ายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การจ้างงาน การพัฒนากำลังคน การบริหารค่าจ้างเงินเดือน ระบบสวัดิการ แรงงานสัมพันธ์ การประเมินประสิทธิภาพหรือประสิทธิผล ความสัมพันธ์กับหน่วยงานของรัฐ องค์การแรงงานสิทธิมนุษยชน

การบริหารค่าตอบแทน ส่วนที่หนึ่ง การบริหารค่าจ้าง เงินเดือน มีผลโดยตรงต่อการผลิต เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง ค่ากะ เบี้ยขยัน โบนัส ค่าล่วงเวลา ส่วนที่สอง การสวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูล ค่ารักษาพยาบาล กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประกันชีวิต ประกันอุบัติเหตุ เครื่องแต่งกาย อาหาร สมาชิกสโมสร

การจัดทำโครงสร้างค่าจ้างเงินเดือน สภาพการบริหารปัจจุบันเป็นแบบใดยึดกฎระเบียบ ยึดระบบหรือยึดวัตถุประสงค์ ความสามารถในการจ่ายขององค์การ ตลาดแรงงาน ค่าจ้าง เงินเดือนหรือธุรกิจเดียวกัน ระบบการบริหารจัดการค่าจ้างเงินเดือนขององค์การ นโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์