แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551-2555) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551-2555)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ ระบบราชการไทยต้อง เก่ง ดี มีส่วนร่วม ตอบสนอง ทันต่อการเปลี่ยนแปลง องค์กรที่มีสมรรถนะสูง มีการกำกับดูแลตนเองที่ดี เชื่อมโยงการทำงาน ทั้งแนวดิ่ง แนวราบ องค์กรแห่งการเรียนรู้ นวัตกรรม และการปรับตัว เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย(พ.ศ.2551- พ.ศ.2555) ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับรูปแบบการทำงาน ให้มีลักษณะเชิงบูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการและการทำงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซับซ้อน หลากหลาย และเปลี่ยนแปลง ไปอย่างรวดเร็ว ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจ และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชน และต่อสังคมโดยรวม ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นองค์การ ที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อม และความสามารถ ในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่าง ๆ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ยกระดับการให้บริการ กลยุทธ์ 1.1 ปรับปรุงการให้บริการ ปชช. ให้มีความหลากหลาย สะดวก รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อตอบสนองความต้องการของ ปชช. 1.1.1 ยกระดับคุณภาพการให้บริการ กระจายอำนาจ สั่ง อนุญาต อนุมัติ e-Service อำนวยความสะดวก ตอบสนองความต้องการของ ปชช. รับฟังความคิดเห็น 1.1.2 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการให้บริการ ลดขั้นตอน แก้ไขกฎ ระเบียบ 1.1.3 ระบบการให้บริการที่ ปชช. สามารถเป็นผู้เลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับความต้องการของตนเองในลักษณะการให้บริการเฉพาะตัวบุคคล 1.2 กลไกการรับฟังความคิดเห็นของ ปชช. 1.2.1 ช่องทางการสื่อสาร 1.2.2 รับฟังความคิดเห็น และความพึงพอใจ (Customer Relation Management) 1.2.3 ปชช. เข้าถึงได้
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : รูปแบบการทำงานเชิงบูรณาการ ความร่วมมือทุกภาคส่วน กลยุทธ์ 2.1 บริหารงานแบบบูรณาการ 2.1.1 จัดระบบความสัมพันธ์ ส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น ที่ชัดเจน ถ่ายโอน 2.1.2 ออกแบบระบบบริหารราชการพื้นที่เฉพาะ 2.1.3 สร้างความเข้มแข็งให้แก่จังหวัด/กลุ่มจังหวัด 2.2 ความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานกลางต่างๆ 2.2.1 ประสาน และบูรณาการทำงานของหน่วยงานกลางเพื่อให้บรรลุผลลัพธ์ร่วมกัน 2.3 เป็นเครือข่ายกับภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน ชุมชน และภาคส่วนต่างๆ 2.3.1 รูปแบบเครือข่าย (Networking) 2.3.2 แบบหุ้นส่วน ภาครัฐ ภาคเอกชน ในงานบริการสาธารณะ (Public-Private Partnership-PPP) การร่วมทุน 2.4 ให้ ปชช. มีส่วนร่วม 2.4.1 เครือข่ายภาค ปชช. เรียนรู้ (Action Learning) เป็นหุ้นส่วน ร่วมติดตาม ประเมินผลต่อเนื่อง สำนึกพลเมือง รวมถึงองค์กรส่วนท้องถิ่น 2.4.2 กลไก ระบบ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม จัดให้มีระบบการปรึกษา สำรวจความต้องการ เปิดโอกาสให้ข้อคิดเห็น 2.4.3 คกก. ภาค ปชช. ในทุกระดับ การวางแผนและจัดทำ งปม. แบบมีส่วนร่วม (Participatory Planning and Budgeting)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : ยกระดับขีดความสามารถ ผลิตภาพภาครัฐ กลยุทธ์ 3.1 วางยุทธศาสตร์บริหารประเทศในระยะยาว (Scenario Planning) 3.2 ปรับปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างของภาครัฐ (Rightsizing) รองรับความหลากหลายซับซ้อน 3.2.1 ทบทวนบทบาท ลดเลิกภารกิจ ถ่ายโอนให้เอกชน ถ่ายโอนงานไปยังหน่วยงานภูมิภาค อปท. ส่งเสริมให้มีการประเมินผล 3.2.2 วางรากฐาน ส่งเสริมองค์การมหาชน หน่วยงานบริการรูปแบบพิเศษ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล 3.2.3 ส่วนราชการให้มีความพร้อมในบริบทของผู้ซื้อบริการ (Service Purchaser) ผู้ให้บริการ/ผู้จัดหาบริการ (Service Provider) 3.2.4 ทบทวนกระจายอำนาจ อปท. เหมาะสม วินัยการคลัง ธรรมาภิบาลการบริหารงาน สร้างความเข้มแข็งหน่วยงานกำกับดูแล อปท. 3.3 หน่วยงานภาครัฐไวต่อการเปลี่ยนแปลง บริหารยืดหยุ่น คล่องตัว 3.3.1 มุ่งสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง 3.3.2 เสริมสร้างขีดความสามารถหน่วยงานรัฐโดยเทียบเคียงสมรรถนะภาคเอกชน (Best Practices) 3.3.3 บริการสาธารณะผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ลดต้นทุน 3.3.4 ปรับปรุงกลไกการประเมินผลตามคำรับรองฯ 3.4 ขีดสมรรถนะของทรัพยากรบุคคลภาครัฐ เป็นมืออาชีพ 3.4.1 พัฒนาขีดสมรรถนะ วัฒนธรรม ข้ามหน่วยงานได้ วางระบบการบริหารการเปลี่ยนแปลง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง สร้างกระบวนทัศน์ ทัศนคติให้ผู้นำเป็นผู้สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ 3.4.2 สมรรถนะของ ขรก. เน้นประสบการณ์จริง ตรงตามความต้องการ ระบบให้คำแนะนำ(Coaching)/พี่เลี้ยง (Mentoring) คู่มือ Succession Plan ระบบการประเมินผล ความโปร่งใสเป็นที่ยอมรับ 3.4.3 ขรก. วิสามัญรองรับหน่วยงานประเภทใหม่ ขรก. การเมืองเพิ่มเติมรองรับการปรับปรุงขีดสมรรถนะของสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และสำนักงานรัฐมนตรี 3.4.4 พัฒนาคุณภาพชีวิต ดำรงชีพอย่างมีศักดิ์ศรี เงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ ปรับปรุงสวัสดิการ ส่งเสริมให้ทำงานที่บ้าน 3.4.5 ส่งเสริมให้มีศูนย์พัฒนาทักษะใหม่ เตรียมพร้อมการถ่ายโอน จนท. ของรัฐ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : เสริมสร้างจริยธรรม ธรรมาภิบาลในการบริหาร กิจการบ้านเมือง กลยุทธ์ 4.1 ระบบคุณธรรม จริยธรรม ปรับกระบวนทัศน์ วัฒนธรรมใหม่ 4.1.1 ใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 4.1.2 ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ค่านิยม วัฒนธรรมใหม่ เอื้อต่อทิศทางการพัฒนาระบบราชการ 4.1.3 สร้างจิตสำนึก ค่านิยม ซื่อสัตย์ สุจริต เป็นกลาง ไม่เลือกปฏิบัติ มุ่งสู่ความเป็นองค์การแห่งสุจริตธรรม 4.1.4 คกก. ส่งเสริมจริยธรรมในแต่ละหน่วยงาน ผู้บริหารระดับสูงด้านจริยธรรม (Chief Ethics Officer) ระบบการวัดผล 4.2 ระบบการตัดสินใจ กำกับตรวจสอบ 4.2.1 โครงสร้างกลไกการบริหาร ระบบกรรมการหน่วยงานที่ใช้อำนาจในการอนุมัติ อนุญาต การมีส่วนร่วมจากภายนอก โปร่งใส 4.2.2 ความเข้มแข็งของการกำกับดูแลตนเองและการควบคุมภายในหน่วยงานภาครัฐ 4.2.3 ส่งเสริม ปชช. มีส่วนร่วมเฝ้าระวัง ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ (People’s Audit) เฉพาะ คกก. ธรรมาภิบาลจังหวัด 4.2.4 นำเสนอข้อมูลสารสนเทศ การสื่อสารให้ ปชช. เข้าถึง 4.3 การดำเนินการที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม และชุมชน 4.3.1 หน่วยงานของรัฐรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) ใส่ใจ ดูแล รักษา ชุมชนท้องถิ่น สังคม สวล. 4.4 สร้างดุลยภาพระหว่างฝ่ายการเมืองและราชการประจำ 4.4.1 ส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดี โดยระบบพิทักษ์คุณธรรม (Merit System Protection)
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย นโยบายการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ประจำปี 2552 โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
1) ต้องบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรมอนามัย โจทย์ที่กรมอนามัยต้องดำเนินการ ปัญหา คือ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบ(มิติ 2-4) ไม่ได้มีความสัมพันธ์กับเป้าหมายยุทธศาสตร์ที่ต้องการให้บรรลุ รวมทั้ง PMQA ก็ไม่สามารถรองรับยุทธศาสตร์ได้ 2) ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ตาม “คำรับรอง” KPI 12 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA กพร. กรมอนามัย
ปัญหารูปธรรมในการดำเนินการ เมื่อปรากฏว่า ผลงานด้าน VIA ไม่บรรลุผล เราไม่สามารถวิเคราะห์หาสาเหตุในเชิงระบบได้ และไม่รู้ว่ามีปัญหาเรื่องศักยภาพบุคลากรหรือ เป็นเรื่องระบบการสนับสนุน กรณีเรื่อง โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ มีผู้รับผิด ชอบน้อย และ ไม่ทราบว่ามีระบบงานรองรับอย่างไร กรณีเรื่อง เมืองน่าอยู่ มีปัญหาด้านระบบฐานข้อมูลรองรับที่ไม่ชัดเจน ตัวชี้วัดส่วนใหญ่ มุ่งที่ผลลัพธ์ (ซึ่งก็ไม่ผิด) แต่ยังขาดการกำหนดตัวชี้วัดเชิงกระบวนการ (อย่างที่ อ .อมรฯเสนอแนะ) กพร. กรมอนามัย
ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินการ การพัฒนาระบบ PMQA กรมอนามัย มีปัญหา เรื่อง 1.1 การเชื่อมโยงการปฏิบัติงานประจำ กับ การพัฒนา PMQA ยังไม่เป็นเนื้อเดียวกัน 1.2 การดำเนินการแต่ละคณะหมวด ขาดการเชื่อมโยง และบูรณาการระหว่างหมวดเรื่อง ทำให้เกิดความ ซ้ำซ้อนในการจัดประชุมของแต่ละหมวด 1.3 บทบาทของผู้บริหารขององค์การมีส่วนรวมในการ ดำเนินการน้อย 1.4 การขับเคลื่อน PMQA แบบทั่วทั้งองค์กรในทุก หน่วยงานย่อย เป็นภาระหนักมาก โดยเฉพาะ หน่วยงานเล็ก 2. การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ยังไม่นิ่ง และ ไม่สามารถเชื่อมโยงการพัฒนาองค์กร(PMQA) ให้ตอบสนองกับเป้าหมายยุทธศาสตร์อย่างเป็นรูปธรรม กพร. กรมอนามัย
สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง กรมอนามัยต้องมีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร (ปี 2551-2555) 1) สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย(ปี 2551-2555) 2) สำนักงาน ก.พ.ร. ปรับปรุงระบบการพัฒนา PMQA ใหม่ การพัฒนาระบบงานตาม PMQAทั้ง6หมวดง่ายขึ้น 3) กระทรวงสาธารณสุข เข้าเป็นกระทรวงนำร่อง เรื่อง การเจรจาเป้าหมายระดับกรม กรมฯกำหนดเป้าหมาย 4 มิติใน “คำรับรอง”ที่สอด คล้องกับ กท./ก.ภารกิจ 4) กรมอนามัยจะใช้เครื่องมือ SLM. (ของ อ.อมรฯ)จัดทำ แผนที่ยุทธศาสตร์ กรมฯจะต้องประสาน SLM.เข้ากับ SM.กรม โดยมีการถ่ายทอดเป้าหมายด้วย กพร. กรมอนามัย
นโยบายการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 การดำเนินการ PMQA ต้องให้ผู้บริหารระดับกลางมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและกำหนดทิศทางร่วมกัน เช่น การพัฒนา PMQA จะดำเนินการแบบทั่วทั้งองค์กร / เฉพาะยุทธศาสตร์ / เพียง 1-2 ประเด็นยุทธศาสตร์ ให้เน้นการนำ PMQA มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ และ ยุทธศาสตร์ โดยต้องประสานการพัฒนา PMQA เข้ากับงานประจำขององค์กร ต้องมีกลไกที่ดำเนินการที่เป็นเอกภาพและมีการบูรณาการ (ทั้งหน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ /หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงาน) ปรับปรุงบทบาทของทีม Fast Track ให้เป็น Facilitator ที่คอยสนับสนุนช่วยเหลือหน่วยงานหลัก รวมทั้งทำหน้าที่ M&E ในเรื่อง PMQA ด้วย กพร. กรมอนามัย
นโยบายการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 เพื่อให้เกิดการประสานงานที่ดี จึงให้กำหนดบทบาทหน้าที่(Role and Function) ของหน่วยงานให้ชัดเจน - หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ - หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงานกลาง หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ ต้องเป็นหลักในการใช้ PMQA ในดำเนินการงาน โดยวิเคราะห์ความเสี่ยง วางระบบงาน กระบวนงานหลัก กำลังคนที่ต้องพัฒนา และระบบ IS เพื่อให้มั่นใจว่า ยุทธศาสตร์จะบรรลุผล หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงาน ต้องกำหนด“ระบบงานเป้าหมาย”ที่จะพัฒนาในแผนพัฒนาองค์กร (โดยวิเคราะห์จากเกณฑ์ PMQA และ OFI ของหมวด1-6) และจัดทำแผนพัฒนา“ระบบงานเป้าหมาย” โดยจำแนกบทบาทของหน่วยงานเจ้าภาพ(PO) กับ หน่วยงานย่อยที่ประสานงสอดคล้องกัน กพร. กรมอนามัย
3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA 1) ต้องบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรมอนามัย แนวคิดใหม่ที่ กรมอนามัยจะตอบโจทย์ 2) ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ตาม “คำรับรอง” 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA หมวด 7 กพร. กรมอนามัย
สวัสดี