บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ประเภทของโครงงาน ครูกตัญชลี เอกวุธ.
โครเมี่ยม (Cr).
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
ระดับความเสี่ยง (QQR)
BLSC, Department of Livestock Development
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (Life and Environment)
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ผลปฏิบัติงานในรอบ TOR 2/60 กุมภาพันธ์ – กรกฎาคม 2560
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ศาสนาเชน Jainism.
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต Biology (40243) Miss Lampoei Puangmalai

บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต 11.1 การสืบพันธุ์ 11.1.1 การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 11.1.2 การสืบพันธุ์ของสัตว์ 11.1.3 การสืบพันธุ์ของคน 11.2 การเจริญเติบโตของสัตว์ 11.2.1 การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด 11.2.2 การเจริญเติบโตของคน

จุดประสงค์การเรียนรู้ 5. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายกระบวนการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด 6. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายกระบวนการเจริญเติบโตของคน 7. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และยกตัวอย่างความผิดปกติของการตั้งครรภ์ และสภาวะบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์

การเจริญเติบโตของคน (Human development)

11.2 การเจริญเติบโตของสัตว์ 1. การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 2. การเจริญเติบโตของสัตว์บางชนิด การเจริญเติบโตของแมลง การเจริญเติบโตของกบ การเจริญเติบโตของไก่ 3. การเจริญเติบโตของคน

3. การเจริญเติบโตของคน Fertilization = sperm + egg ---- zygote (initial fallopian tube) Cleavage --- embryo (morula) --- blastulation --- beginning of implantation in endometrium

http://fig.cox.miami.edu/~cmallery/150/devel/animal_development.htm

http://www.mhhe.com/socscience/devel/ibank/begin.htm

http://faculty. southwest. tn http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P%20Human%20Development%20&%20Body%20Sections.htm

http://faculty. southwest. tn http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P%20Human%20Development%20&%20Body%20Sections.htm

http://fig.cox.miami.edu/~cmallery/150/devel/animal_development.htm

Human embryonic development ประมาณ 7 วัน หลังปฏิสนธิ ซึ่งอยู่ในระยะบลาสทูลา embryo จะสร้าง chorion ล้อมรอบ embryo บางส่วนของ chorion (ลูก) ยื่นเป็นแขนงเล็ก ๆ แทรกใน endometrium (แม่) ซึ่งพัฒนาไปเป็นรก (placenta) Embryo มีการสร้างถุงน้ำคร่ำ (amnion) หุ้มตัวเอง ภายในมี น้ำคร่ำ (amniotic fluid) ทำหน้าที่ ป้องกันการกระทบกระเทือน และช่วยการเคลื่อนไหวของทารก Embryo มีการสร้างสายสะดือเชื่อมกับรก

Human embryonic development เมื่ออายุได้ 2 สัปดาห์ embryo จะมีความยาว 1.5 mm เข้าสู่ระยะ gastrulation เกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ Ectoderm Mesoderm Endoderm

http://faculty. southwest. tn http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P%20Human%20Development%20&%20Body%20Sections.htm

http://faculty. southwest. tn http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P%20Human%20Development%20&%20Body%20Sections.htm

http://faculty. southwest. tn http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P%20Human%20Development%20&%20Body%20Sections.htm

http://faculty. southwest. tn http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P%20Human%20Development%20&%20Body%20Sections.htm

http://www.mhhe.com/socscience/devel/ibank/begin.htm

Human embryonic development ในสัปดาห์ที่ 3 จะปรากฏร่องรอยของระบบและอวัยวะขึ้น ซึ่งเข้าสู่ระยะ organogenesis จะมีการสร้างอวัยวะจนครบภายในเวลา 8 สัปดาห์ ซึ่งเป็นระยะสิ้นสุดของ embryo และหลังจากระยะนี้แล้ว จะเรียกว่า fetus

Human fetus development เมื่ออายุได้ 8-9 สัปดาห์ จะมีนิ้วมือ และนิ้วเท้าเจริญเห็นได้ชัดเจน สามารถแยกเพศได้ ช่วงเดือนที่ 4-6 ฟีตัสจะมีขนาดโตขึ้นเรื่อย ๆ มีการเคลื่อนไหวมากขึ้น มีการเจริญของกระดูก มีผม และขน ในช่วง 3 เดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ ฟีตัสจะมีขนาดโตเพิ่มมากขึ้น ในระยะนี้ เป็นระยะที่ระบบประสาทเจริญมาก

Human fetus development หลังจากแม่ตั้งครรภ์ได้ประมาณ 280 วัน ซึ่งนับจากวันแรกของการมีประจำเดือน ครั้งสุดท้ายก็ถึงระยะครบกำหนดคลอดออกมา โดยส่วนใหญ่ส่วนหัวของทารกจะออกมาก่อน หลังจากคลอดออกมาประมาณ 1 นาทีทารกจะเริ่มหายใจ และติดตามด้วยเสียงร้อง ในกรณีที่มีการคลอดก่อนกำหนด ทารกอาจรอดชีวิตได้ แต่ต้องเลี้ยงไว้ในตู้ที่ควบคุมอุณหภูมิให้ใกล้เคียงกับอุณหภูมิในร่างกายแม่

http://www.people.virginia.edu/~rjh9u/fetalpic.html

Human development 6 weeks http://fig.cox.miami.edu/~cmallery/150/devel/animal_development.htm

http://zoology.okstate.edu/zoo_lrc/zool4134/Human%20Placentation.htm

http://zoology.okstate.edu/zoo_lrc/zool4134/Human%20Placentation.htm

http://fig.cox.miami.edu/~cmallery/150/devel/animal_development.htm

http://faculty. southwest. tn http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P%20Human%20Development%20&%20Body%20Sections.htm

http://www.tiscali.co.uk/reference/encyclopaedia/hutchinson/m0007836.html

http://www.tiscali.co.uk/reference/encyclopaedia/hutchinson/m0007836.html

การตรวจน้ำคร่ำในครรภ์ http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P%20Human%20Development%20&%20Body%20Sections.htm

การเจริญเติบโตของคนระยะหลังคลอด การเจริญเติบโตของคนในระยะหลังคลอดนี้ ส่วนใหญ่จะมีการเพิ่มความสูงและน้ำหนักของร่างกาย ซึ่งมีอัตราการเจริญเติบโตของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจะไม่เท่ากัน

สภาวะบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ เซลล์ไข่ของคนอยู่ในประเภท Homolecithal egg เอ็มบริโอและฟีตัสได้รับอาหารจากแม่โดยผ่านทางรก ผู้เป็นแม่จึงต้องบริโภคอาหาร ให้ครบและพอเพียงต่อความต้องการ ครบสารอาหารหลัก 5 หมู่ โดยเฉพาะประเภทเนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วเหลือง และมีกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกาย พบว่า ถ้าขาดสารอาหารประเภทโปรตีนในระยะ 3 เดือนก่อนคลอด จะทำให้ทารกที่เกิดมาอาจไม่สมบูรณ์หรือมีระดับสติปัญญาต่ำกว่าปกติ หญิงมีครรภ์ควรได้รับพลังงานจากอาหารวันละประมาณ 2,300 กิโลแคลอรี่

สิ่งที่แม่ได้รับอาจมีผลกับทารกในครรภ์ 1. สารเคมี เช่น ยากล่อมประสาทพวกทาลิโดไมล์ (thalidomide) สุรา บุหรี่ เป็นต้น 2. เชื้อโรค เช่น หัดเยอรมัน 3. กรรมพันธุ์ 4. รังสีต่าง ๆ เช่น รังสีเอกซ์

ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของลูกอ่อน ปัจจัยที่มีความจำเป็นมากสำหรับลูกอ่อน คือ อาหาร (ปริมาณไข่แดง) การคุ้มภัย ปัจจัยทางกายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น

References สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : 2547. 156 หน้า. คณาจารย์ ภาควิชาสัตววิทยา. ปฏิบัติการชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ : 2548. 244 หน้า. http://www.microscopy-uk.org.uk/mag/art98/celldiv.html http://fig.cox.miami.edu/~cmallery/150/devel/animal_development.htm

Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology Department of science St. Louis College Chachoengsao

http://zoology.okstate.edu/zoo_lrc/zool4134/Human%20Placentation.htm

http://zoology.okstate.edu/zoo_lrc/zool4134/Human%20Placentation.htm

http://zoology.okstate.edu/zoo_lrc/zool4134/Human%20Placentation.htm

http://www.mhhe.com/socscience/devel/ibank/begin.htm

http://www.mhhe.com/socscience/devel/ibank/begin.htm

http://www.mhhe.com/socscience/devel/ibank/begin.htm

http://www.mhhe.com/socscience/devel/ibank/begin.htm

http://www.mhhe.com/socscience/devel/ibank/begin.htm

http://www.mhhe.com/socscience/devel/ibank/begin.htm

http://www.mhhe.com/socscience/devel/ibank/begin.htm