Law & Technology How does the law connect to these two issues? กฎหมายเข้าไปเกี่ยวข้องอย่างไรกับเทคโนโลยีและโลกาภิวัตน์ What is going on in this World? เกิดอะไรขึ้นบนโลกใบนี้ Can we use the law to cope with this situation? แล้ว เราจะสามารถใช้กฎหมายเพื่อจัดการกับสถานการณ์เหล่านี้ได้ หรือไม่
Law and Technology กฎหมายและเทคโนโลยี ต่างเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้าง ขึ้น – พัฒนาการของทั้งสองสิ่งในโลกสมัยใหม่ การใช้เทคโนโลยี “อย่างเป็นธรรม” Law & Technology
Have & Have Not! เทคโนโลยี คือการพัฒนาเพื่อสร้างสิ่งอำนวยความ สะดวกให้แก่คน Law & Technology
Have & Have Not! การมี และการไม่มีเทคโนโลยี ทำให้ช่องว่างระหว่างคน มีมากขึ้น Law & Technology
เราใช้เทคโนโลยีอย่างไร เทคโนโลยี สร้างชีวิตหรือทำลายชีวิต อยู่ที่การใช้ Law & Technology
เรามีกฎกติกา สำหรับการใช้เทคโนโลยีอย่างไร การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มศักยภาพแก่คนในการใช้ ชีวิตอยู่ เรามีวิธีการกำจัดกากของเสียเหล่านี้อย่างไร? อ่านคดีโคบอลต์ 60 http://www.thairath.co.th/content/45126 Law & Technology
เทคโนโลยีใช้กลไกของวิทยาศาสตร์ กฎหมายใช้กลไกของรัฐ เทคโนโลยีใช้กลไกของวิทยาศาสตร์ กฎหมายใช้กลไกของรัฐ เทคโนโลยีใช้กลไกของวิทยาศาสตร์ – การทดลอง Experiment กฎหมายใช้กลไกของรัฐ – การบังคับใช้และควบคุม Command & Control Law & Technology
พัฒนาการของวิทยาการในโลก ยุควิทยาศาสตร์ของนักปรัชญา นักคิดอิสระ ความรู้ เป็นของสาธารณะ/ นักคิดของผู้ปกครอง ยุควิทยาศาสตร์เป็นของต้องห้าม เมื่อการค้นพบ กระทบต่อสถานะของชนชั้น ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ การทดลองหาความรู้ในเชิง ประจักษ์ เสรีภาพของมนุษย์ในการพัฒนา ยุควิทยาศาสตร์กลายเป็น “พระเจ้า” เมื่อเทคโนโลยี คือทุน ทุกอย่างกลายเป็นสินค้า เทคโนโลยีสร้างอำนาจแก่ผู้ที่เข้าถึงได้ เทคโนโลยี ควบคุมธรรมชาติ Law & Technology
ทุกอย่างกลายเป็นสินค้า Law & Technology
เทคโนโลยีสร้างอำนาจแก่ผู้ที่เข้าถึงได้ Law & Technology
เทคโนโลยี ควบคุมธรรมชาติ Law & Technology
การส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระบบกฎหมาย จากการปฏิวัติแนวคิดสู่ความเป็นมนุษยนิยม เสรีภาพในการพัฒนาตนเอง เสรีภาพในทางวิชาการและการแสดงความคิดเห็น มีเหตุมีผล(โต้แย้งได้ โดยการแสดงให้เห็น พิสูจน์ ทดลอง) การคุ้มครองภูมิปัญญาด้วยระบบกฎหมาย ทรัพย์สิน บนพื้นฐานของระบบพาณิชย์นิยม การแลกเปลี่ยนเพื่อการพัฒนา การถ่ายทอด เทคโนโลยี Law & Technology
จริยศาสตร์ กับ เทคโนโลยี การอธิบายสรรพสิ่งต่างๆในโลก ธรรมชาติ พระเจ้า มนุษย์ มนุษย์เป็นประธาน หรือ วัตถุ การใช้คนในการทดลอง การใช้สิ่งมีชีวิตในการทดลอง เช่น การใช้หนูทดลอง การใช้สัตว์ในการทดสอบเครื่องสำอาง การตัดแต่งพันธุกรรม การคัดเลือกพันธุ์ที่มีความเป็นเลิศ เช่น พันธุ์พืชที่เจริญเติบโตได้ดี เนื่องจากตอบสนองต่อ ปุ๋ย น้ำ ยาฆ่าแมลง การคัดเลือกพันธุ์ของคน !!! การใช้เทคโนโลยีควบคุมธรรมชาติ Law & Technology
การออกกฎ โดยคิดจากพื้นฐานของจริยศาสตร์ เพื่อควบคุมการใช้เทคโนโลยี การออกกฎ โดยคิดจากพื้นฐานของจริยศาสตร์ เพื่อควบคุมการใช้เทคโนโลยี การเข้าถึงเทคโนโลยี ปัญหาด้านมนุษยธรรม จากกฎหมายเพื่อการคุ้มครองสิทธิให้นวัตกรรม เพื่อจูงใจให้เกิดการพัฒนาเทคโยโลยี การแบ่งปันผลประโยชน์จากการพัฒนาเทคโนโลยี ระหว่างเจ้าของทรัพยากรกับผู้คิดค้น การหวงกันความรู้ ใครควรเป็นเจ้าของความรู้ ผู้คิด/เจ้าของทุน/ มนุษยชาติ การใช้เวลาเข้ามาเป็นตัวช่วยในการคลายความ กดดัน – 50 ปี/ตลอดชีวิตของผู้ผลิต/สร้างสรรค์ Law & Technology
Copyright ลิขสิทธิ์ - สิทธิในการประพันธ์ Law & Technology
Patent สิทธิบัตร - สิทธิในสิ่งประดิษฐ์ Law & Technology
Trademark เครื่องหมายการค้า – ชื่อเสียง ยี่ห้อ Law & Technology
Trademark เครื่องหมายการค้า – ชื่อเสียง ยี่ห้อ Law & Technology
กลไกทางกฏหมาย ในการคุ้มครองเทคโนโลยี ลิขสิทธิ์ สิทธิในงานที่มีลักษณะเป็นการประพันธ์ การแสดงออก ทางความคิด กฎหมายคุ้มครองให้ โดยห้ามผู้อื่น ทำซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร่ต่อ สารณะ ให้เช่า สำเนา ใช้ ตลอดชีวิตของผู้ประพันธ์ + 50 ปี สิทธิบัตร งานสร้างสรรคเทคโนโลยีที่มีกรรมวิธีการผลิต สิทธิบัตรการประดิษฐ์ มีอายุ 20 ปี นับแต่วันยื่นขอ สิทธิบัตรการออกแบบ มีอายุ 10 ปี แต่วันยื่นขอ Copyright – Copyleft อ่าน วันทนา ศิวะ (ในมานพ คำทิพย์ “ปล้นผลผลิต! ปฏิบัติการจี้ ยึดเสบียงอาหารโลก” และ สมเกียรติ์ ตั้งนโม ใน “สวนกระแส ลิขสิทธิ์และเรื่องของลิขซ้าย” (เอกสารบทที่ 8 และ 9 ในเอกสาร อ่านประกอบ เล่ม 1) Law & Technology
So what! แล้วมีปัญหาอะไรหรือ? ด้านหนึ่ง การสร้างแรงจูงใจให้เกิดการสร้างสรรค์ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ กฎหมายเข้ามาคุ้มครองสิทธิให้แก่ผู้สร้างสรรค์ บริษัทจ้างนักวิทยาศาสตร์ มาเพื่อคิดค้น ยารักษาโรค ตัวใหม่ ต้องจ้างนักวิทยาศาสตร์กี่คน ในระยะเวลา ยาวนานเท่าใด จึงจะได้ยารักษาโรคตัวใหม่นั้น? เมื่อผลิตได้ บริษัทควรจะขายยานั้น ในราคาเท่าไรดี? ยา 1 เม็ด ราคาเท่ากับ 5 บาท – ราคาเป็นธรรมหรือไม่? ในทางกลับกัน คนไข้ จะสามารถซื้อยานั้นได้ เหมือนกันทั่วโลกหรือเปล่า? คนไข้ในสหรัฐอเมริกา กับ คนไข้ในประเทศไทย 1 เหรียญสหรัฐมีราคาเท่าไร เมื่อคิดเป็นกี่บาท? แล้ว ค่าจ้างขั้นต่ำในประเทศไทยเป็นเท่าไร หากคุณเป็นคนออกกฎ จะออกกฎในเรื่องนี้อย่างไร? Law & Technology
Food Sovereignty กฎหมายคุ้มครองใคร? Whose game is this? Law & Technology