รายงานสรุปการตรวจประเมิน การตรวจประเมินตามเกณฑ์ประเมินการจัดการความรู้ ระดับสำนัก/กอง ( KMA 2016 ) วันที่ 25 ตุลาคม 2559 รายงานสรุปการตรวจประเมิน 6 ต.ค. 59 6 ต.ค. 59 By Km Team Rid 8
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1-1.3 CKO สื่อสาร ถ่ายทอดทิศทางของหน่วยงาน (วิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ และยุทธศาสตร์ของกรม) และแนวทางการดำเนินการจัดการความรู้ ต่อบุคลากรเพื่อให้บุคลากรได้รับรู้ เข้าใจถึงเป้าหมายองค์กร และนำส่วนที่เกี่ยวข้องและความครอบคลุมทุกระดับ ให้นำไปปฏิบัติอย่างไร การ ดำเนินก าร 1.1 ให้ความสำคัญกับบทบาทของ CKO ในการสื่อสาร ใช้ช่องทางเหมาะสม เช่น การประชุมสำนักฯ แจ้งเวียน เสียงตามสาย ระบบวิทยุสื่อสาร หน้า เว็บไซต์ สชป.8 เว็บคลังความรู้ เป็นต้น 1.2 ให้ความสำคัญกับบทบาทของ CKO ในการถ่ายทอดวิสัยทัศน์ ของ กรม และเลือกใช้ช่องทางอย่างเหมาะสมตามที่มีใข้งานอยู่จริง 1.3 ให้ความสำคัญกับบทบาทของ CKO ในการแต่งตั้งคณะทำงานฯและจัด ทำแผนที่สำคัญเพื่อดำเนินการ การจัดกิจกรรมการจัดการความรู้อีกด้วย หลักฐาน 1.1 , 1.2 , 1.3
1.4-1.6 CKO สร้างบรรยากาศเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของบุคลากรการแสดงออกในการเป็นแบบอย่างที่ดีหรือการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้และสนับสนุนให้รางวัลแก่บุคลากรที่แสดงออกในสังกัดอย่างไร การ ดำเนินก าร 1.4 ให้ความสำคัญกับบทบาทของ CKO ในการสนับสนุนเรียนรู้และ แสดงบทบาทให้บุคลากรอยากเรียนรู้เช่น การแบ่งปัน การสร้าง บรรยากาศร่วมคิดร่วมทำเช่น การถอดความรู้ผู้เกษียณอายุ 1.5 ให้ความสำคัญกับบทบาทของ CKO ในการแสดงออกเป็นแบบ อย่างที่ดี ในฐานะผู้นำองค์กร 1.6 ให้ความสำคัญกับบทบาทของ CKO การสนับสนุนให้รางวัลทาง ตรงและทางอ้อม หลักฐาน 1.4 , 1.5 , 1.6
1.7-1.9 CKO ดำเนินการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับเทคโนโลยีใหม่ๆ / นวัตกรรมที่ต้องนำมาใช้และสนับสนุนให้นำเครื่องมือการจัดการความรู้ พร้อม CKO มีนโยบายกำหนดให้มีการสรุปบทเรียนในการปฏิบัติงานอย่างไร การ ดำเนินก าร 1.7 ให้ความสำคัญกับบทบาทของ CKO ในการวางแผนกำหนด แนวทางและนโยบายใหม่ๆ ที่จำเป็นต้องใช้งานอยู่เสมอ 1.8 ให้ความสำคัญกับบทบาทของ CKO ในการกำหนดแผนงาน ในการนำเครื่องมือมาใช้ในการแก้ไขปัญหาการทำงาน 1.9 ให้ความสำคัญกับบทบาทของ CKO ในการกำหนดนโยบาย การสรุปบทเรียนการดำเนินการและหาแนวทางพัฒนาต่อไป หลักฐาน 1.7 , 1.8 , 1.9
1.10-1.11 CKO ประยุกต์ใช้การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือช่วยสร้างความสัมพันธ์ที่ดียิ่งขึ้นกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงาน กำหนดแนวทาง/วิธีการเพื่อ ควบคุม กำกับ ติดตามผลการดำเนินงานด้านการจัดการความรู้ เพื่อให้มีการดำเนินการตามแผนอย่างครบถ้วนตามเป้าหมายที่กำหนดอย่างไร การ ดำเนินก าร 1.10 ให้ความสำคัญกับบทบาทของ CKO ในการเป็นผู้นำประยุกต์ ใช้ KM ในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับบริการและร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้และรับการถ่ายทอดความรู้ของผู้รับบริการ อย่างเท่าๆกัน 1.11 ให้ความสำคัญกับบทบาทของ CKO ในการกำหนดแนวทาง หรือวิธีการวางความรู้เพื่อให้มีการดำเนินการตามแผนอย่าง ครบถ้วนและตามแผนเป้าหมายกำหนด หลักฐาน 1.10 , 1.11 , 1.11.1
หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ 2.1-2.3 สำนัก/กอง นำผลการสรุปบทเรียนงานตามภารกิจ (จากข้อ 1.9) มาใช้เป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำ KM Action Plan หรือ แผนพัฒนาองค์กร ตามแนวที่กรมฯกำหนดต่อเนื่องทุกปี รวมถึงมีวิธีการคัดเลือกหัวข้อองค์ความรู้เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการ KM หรือไม่อย่างไร การ ดำเนินก าร 2.1 ให้ความสำคัญกระบวนการจัดทำแผนการจัดการความรู้ หรืแผนพัฒนา องค์กรของหน่วยงาน โดยใช้ข้อมูลจากการทบทวนสรุปบทเรียนการทำ งานเป็นข้อมูลสำคัญ เพื่อมากำหนดเป็นแผนงานการจัดการความรู้ 2.2 ให้ความสำคัญกับรายละเอียดและองค์ประกอบของแผนการจัดการ ความรู้ของสำนักกอง ตามแนวทางที่กรมกำหนดตามแบบฟอร์มที่ ๑,๒ และพิจารณาแผนการจัดการความรู้ย้อนหลังอย่างน้อย ๓ ปี ต่อเนื่อง ปรากฏตามรายงานหน้า คลังความรู้ หมวด 2 ข้อ 2 โดยใช้ 8 ปี 2.3 การคัดเลือกมาจากผลการสรุปบทเรียนที่ผ่านมา พร้อมระบุเหตุผลลง ในแบบฟอร์มที่ 1 หลักฐาน KM Action Plan 2.1 , 2.2 , 2.3
2.4-2.5 สำนัก/กอง ถ่ายทอด KM Action Plan ไปสู่ผู้ปฏิบัติให้เกิดการดำเนินการทั่วถึงทั้งหน่วยงานและเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ตามแผน พร้อมสรุปผลการดำเนินการตาม KM Action Plan เมื่อสิ้นปีพบว่า สามารถดำเนินการได้บรรลุตามแผนคิดเป็นร้อยละเท่าใด การ ดำเนินก าร 2.4 กระบวนการนำแผน KM ไปสู่การปฏิบัติโดยพิจารณาจากการ มอบหมายผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน มีการถ่ายทอด KM Action Plan ไปสู่ผู้ปฏิบัติให้เกิดการดำเนินการทั่วถึงทั้งสำนักงาน 2.5 ร้อยละความสำเร็จการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ตาม แผนจำนวน ๑๓ กิจกรรม (คิดเป็น ร้อยละ ๑๐๐) และดำเนินการ สำเร็จตามเป้าหมาย รายการ กิจกรรม ๑๐ กิจกรรม (คิดเป็นร้อย ละ ๗๗) หลักฐาน KM Action Plan 2.4 , 2.5,
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1-3.3 สำนัก/กอง สำรวจเพื่อให้ทราบความต้องการที่แท้จริงของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไรและรับฟังข้อร้องเรียนที่เป็นปัจจุบันของผู้รับบริการและมีส่วนได้เสียผ่านช่องทางใด และนำข้อมูล (ข้อร้องเรียนและความต้องการ) จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาใช้เป็นข้อมูลสำคัญและนำไปใช้ปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อให้บริการที่ดีขึ้นอย่างไร การ ดำเนินก าร 3.1 ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย อันได้แก่ประชาชนทั่วไป ภาคเอกชน ผู้ใช้น้ำในเขตนอกเขตและอุตสาหกรรมอื่นๆ โดยใช้กระบวนการประ ชุมและการมีส่วนร่วมเป็นต้น มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่มผู้ใช้ น้ำและเวทีการประชาคมและการรับฟังข้อคิดเห็นหรือพึงพอใจ หลักฐาน 3.1 , 3.1.1 , 3.1.2
3.2 วิเคราะห์เพื่อประเมินผลช่องทาง ที่มีอยู่ในปัจจุบัน คณะทำงาน PMQA สชป.8 หมวด 3 ได้กำหนดช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียไว้11ช่องทาง 3.3 กำหนดผู้รับผิดชอบ คำสั่งคณะกรรมการจัดการข้อร้องเรียน ได้ดำ เนินการมอบ หมายให้เจ้าหน้าที่ของ สชป.8 ร่วมเป็นคณะทำงาน จัดการข้อร้องเรียนของ สชป.8 และวางระบบการจัดการข้อร้อง เรียน ขั้นตอนการจัดการข้อร้องเรียนได้ดำเนินงานตามมาตรฐานของ กรมฯ นอกจากนี้ยังปรับปรุงพัฒนากระบวนงานติดตามการจัดการ จัดการเรื่องร้องเรียนให้มีประสิทธิภาพ รวดเร็วทันต่อสถานการณ์ หลักฐาน 3.2 , 3.3
3. 4-3. 6 สำนัก/กอง ใช้ข้อมูลและความรู้ (จากข้อ 3. 1-3 3.4-3.6 สำนัก/กอง ใช้ข้อมูลและความรู้ (จากข้อ 3.1-3.3) ที่ได้รับจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และนำไปช่วยสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรวมถึงประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร โดยมีมีช่องทางที่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถเข้าถึงข้อมูล สารสนเทศเพื่อรับบริการของสำนัก/กอง ผ่านช่องทางใดบ้างและช่องทางใดมีประสิทธิภาพทีสุด การ ดำเนินก าร 3.4 สชป.8 ได้นำข้อมูลจากข้อร้องเรียนและความต้องการของผู้รับบริ การและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยจัดทำคู่มือ แผ่นพับ วีดิทัศน์ ในการ สร้างความเข้าใจต่อภารกิจ สชป.8 และพบปะแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น ชี้แจง ทำความเข้าใจโดยผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่นมีการจัด คลินิกเกษตรกรเคลื่อนที่และการจัดตั้งอาสาสมัครชลประทานรวม ถึงการจัดฝึกอบรมเกษตรกรผู้ใช้น้ำอีกด้วย หลักฐาน 3.4
3.5 สชป.8 ได้นำข้อมูลจากข้อร้องเรียนและความต้องการของผู้รับบริ การและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยจัดทำคู่มือ แผ่นพับ วีดิทัศน์ ในการ สร้างความเข้าใจต่อภารกิจ สชป.8 และพบปะแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น ชี้แจง ทำความเข้าใจโดยผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่นมีการจัด คลินิกเกษตรกรเคลื่อนที่และการจัดตั้งอาสาสมัครชลประทานรวม ถึงการจัดฝึกอบรมเกษตรกรผู้ใช้น้ำอีกด้วย หลักฐาน 3.5 3.6 ผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถเข้า ถึงข้อมูลสารสนเทศ เพื่อรับการบริการของ สำนักชลประทานที่ 8 ดังนี้คือ ติดต่อด้วยตนเองหมายถึง ถือเอกสารจดหมายร้องเรียนมาส่งด้วยตนเอง เวทีประชาคม/ฝึกอบรม/ประชุม/สัมมนา ( ข้อ 3.2 หมวดที่ 3 ) หลักฐาน 3.6 1 , 2 , 3
หมวด 4 การวัด วิเคราะห์และจัดการความรู้ หมวด 4 การวัด วิเคราะห์และจัดการความรู้ 4.1-4.4 สำนัก/กอง คัดเลือก รวบรวม เชื่อมโยง และบูรณาการข้อมูลสารสนเทศเพื่อติดตามการปฏิบัติงานประจำวันและ Update เว็บไซต์คลังความรู้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อใช้ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน รวมถึงการประมวล กลั่นกรอง ตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของความรู้ที่จัดเก็บในคลังความรู้ของสำนัก โดยมีแผนหรือผังกระบวนการ เพื่อปรับปรุงเว็บไซต์คลังความรู้ให้เป็นไปตามลักษณะสำคัญที่กำหนดหรือไม่ อย่างไร การ ดำเนินก าร 4.1 มีกระบวนการคัดเลือก รวบรวมเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศที่ใช้ในการ ปฏิบัติงานประจำวัน โดยมีการกำหนดผู้รับผิดชอบใน การดำเนินงาน โดยสร้างระบบรวบรวมข้อ มูลเพื่อติดตามผล การปฏิบัติงาน สร้าง ระบบรวบรวมข้อมูลเพื่อบริหารจัดการ 4.2 มีคณะทำงานพัฒนาคลังความรู้ โดยคัดเลือกจากส่วนฝ่ายต่างๆ เพื่อให้ ครอบคลุมทุกกลุ่มงาน หลักฐาน 4.1 , 4.2 , 4.2.1
4.3 มีคณะกรรมการกลั่นกรองความรู้และติดตาม การเผยแพร่ความรู้มี การกำหนดบุคลากรที่ทำ หน้าที่กลั่นกรององค์ความรู้อย่างชัดเจน มีแผนผัง หรือแผนภูมิการทำงานเป็นขั้นตอน 4.4 สชป.8 มีการพัฒนาปรับปรุงเว็บไซต์คลัง ความรู้ของสำนักฯ อย่างต่อ เนื่องและเป็นปัจจุบันสม่ำเสมอ ปรับปรุงข้อมูล เว็บไซต์คลังความรู้กลาง ใช้โปรแกรม Joomla พัฒนาและปรับปรุงข้อมูล เว็บไซต์คลังความรู้ สชป.8 มีกระบวนการและขั้นตอนในการพัฒนา คลังความรู้อย่างชัดเจนและเป็นระบบ มีแผนและ ผล บัญชีรายชื่อ รายงานการเผยแพร่ มีส่วน ประกอบที่สำคัญครบ หลักฐาน 4.3 , 4.4, 4.4.1
4.5-4.7 สำนัก/กอง รวบรวมและถ่ายโอนความรู้จากบุคลากรในสังกัด/รวบรวมและถ่ายโอนความรู้จากผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงานและแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ข้ามหน่วยงานอย่างไร การ ดำเนินก าร 4.5 มีการถอดความรู้จากบุคลากรที่เกษียณอายุปี 59 จัดกิจกรรม ชุมชนนักปฏิบัติและรายงานสรุปผลสำเร็จตามแผน 4.6 การประชุม JMC โครงการฯมูลบนและโครงการลำแซะ เวทีแลก เปลี่ยนจากกลุ่มผู้ใช้น้ำและการประชุมกลุ่มประชาคม พร้อมการ ประเมินและสำรวจผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ 4.7 เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในหน่วยงานภายนอก หน่วยงาน หลักฐาน 4.5 , 4.6 , 4.7
4.8-4.9 สำนัก/กอง มีการวัดผลตัวชี้วัดที่สำคัญเพื่อประเมินความสำเร็จตามแผนการจัดการความรู้และมีการออกแบบกิจกรรมการจัดการความรู้ที่มีกลยุทธ์ สอดคล้องกับบริบทองค์กร และมีความโดดเด่น เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากหน่วยงานอื่น และเกิดผลประโยชน์ในการพัฒนาการจัดการความรู้หรือไม่ การ ดำเนินก าร 4.8 จัดทำรายงานผลการดำเนินตามแผนโดยระบุเหตุผลการเลือกองค์ ความรู้เพื่อจัดการความรู้ตามแผนโดยเลือก 2 องค์ความรู้และราย งานความก้าวหน้ารอบ 6 และ 12 เดือน 4.9 ให้ความสำคัญอย่างมากโดยมีการบูรณาการผู้มีความรู้เฉพาะด้าน มาดำเนินการและทำงานในการพิจารณากลั่นกรองสัญญา ทำให้ งานมีประสิทธิภาพถูกต้องตามระเบียบ ป้องกันการผิดพลาหรือปัญ หาที่จะเกิดขึ้นได้ หลักฐาน 4.8 , 4.8.1 , 4.9
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1-5.3 ทีมงานการจัดการความรู้ของสำนัก/กอง มีองค์ประกอบตามข้อกำหนดและมีการดำเนินการกิจกรรมตามแผนอย่างต่อเนื่อง/มีวิธีการถ่ายโอนความรู้ที่สำคัญจากบุคลากรที่จะเกษียน ย้าย โอน ลาออกจากหน่วยงาน เพื่อเก็บรักษาไว้ รวมถึงได้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรด้านการจัดการความรู้ที่กรมจัดดำเนินการอย่างสม่ำเสมอเพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจด้านการจัดการความรู้อย่างไรหรือไม่ การ ดำเนินก าร 5.1 แต่งตั้งผู้บริหารจัดการความรู้ และทีมงานจัดการความรู้ สชป.8 แต่งตั้งคณะทำงานย่อยเพื่อสนับสนุนการจัดการความรู้ในหน่วยงาน และแต่งตั้งคณะทำงานย่อยเพื่อตรวจและประเมิน KMA 2016 5.2 ดำเนินการจัดกิจกรรมถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ KM DAY และ KM BUDDY, รายงานผลการประชุมครั้งที่ 1-5 , มีนโยบายแรงจูงใจ 5.3 ดำเนินการส่งบุคลากรเป็นผู้แทนเข้าร่วมอบรมการจัดการจัดความรู้ สม่ำเสมอ ส่งบุคลากรเป็นผู้แทนเข้าร่วมกิจกรรม KM DAY & KM BUDDY ทั้งภายในหน่วยงานและนอกหน่วยงาน หลักฐาน 5.1 , 5.2 , 5.3
5.4-5.6 สำนัก/กอง มีการนำผลการประกวดตามโครงการ KM AWARD หรือ กิจกรรมการประกวด KM ของสำนัก/กอง ไปประกอบการประเมิน ผลการปฏิบัติราชการประจำปี ส่งเสริมให้บุคลากรปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานและสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อเป็นสินทรัพย์ของหน่วยงานหรือ ไม่อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงมีวิธีการถ่ายโอนความรู้ที่สำคัญจากบุคลากรที่จะเกษียน ย้าย โอน ลาออกจากหน่วยงาน เพื่อเก็บรักษาไว้อย่างไร การ ดำเนินก าร 5.4 กำหนดรางวัลผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น RID INNOVATION 2016 สำหรับผู้ส่งผลงานเข้าประกวด CKO ได้พิจารณาประเมินผลการปฏิ บัติราชการเป็นกรณีพิเศษให้ KM TEAM 5.5 จัดโครงการอบรม ประชุม เพื่อให้ความรู้และทักษะใหม่ๆแก่บุคลากร ในการปฏิบัติงานด้านต่างๆทั้งสายงานหลักและสนับสนุนมีการสำ รวจองค์ความรู้ กลั่นกรองความรู้และเผยแพร่ความรู้ โดยแยกเป็น หมวดหมู่ความรู้ตามแนวทางที่ KM กรม กำหนด 5.6 ใช้การถ่ายทอดประสบการณ์การทำงานโดยนำกิจกรรม COP มา ดำเนินการถอดความรู้จากผู้เกษียณอายุราชการปี 2559 หลักฐาน 5.4 , 5.5 , 5.6
5.7 การจัดการความรู้ภายในสำนัก/กอง ทำให้บุคลากรมีความพึงพอใจและมีความสุขในการทำงานและส่งผลกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานที่ดียิ่งขึ้นหรือไม่ การ ดำเนินก าร 5.7 มีการสำรวจความพึงพอใจการใช้บริการจากการจัดการความรู้ จากแบบสอบถามและสำรวจผ่านเว็บไซต์คลังความรู้ มีการสำ สำรวจความผาสุก ความพึงพอใจในการจัดการความรู้ของ หน่วยงานพร้อมสรุปให้เห็นผลอย่างชัดเจนเพื่อการพัฒนา หลักฐาน 5.7 , 5.7.1 , 5.7.2 5.7.3
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1-6.3 สำนัก/กอง ใช้ KM มาปรับปรุงกระบวนงานหลักและใช้ KM มา เชื่อมโยงเครื่องมือการปรับปรุงคุณภาพงานอื่นๆ รวมถึงใช้ KM ในการปรับปรุงกระบวนการสนับสนุนงาน อย่างไร การ ดำเนินก าร 6.1 ให้ความสำคัญกับการใช้การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือปรับปรุงกระ บวนงานภารกิจหลักของหน่วยงาน เช่น จัดทำคู่มือแนวทางการปฏิบัติ งานการสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน การสร้างความรู้ใหม่หรือ นวัต กรรมเพื่อสนับสนุนการทำงาน การปรับปรุงกระบวนการให้บริการและ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการหรือฝึกอบรมเป็นต้น 6.2 การเลือกใช้เครื่องมืออื่นๆเพื่อการปรับปรุงคุณภาพการทำงานควบคู่ไป กับ KM โดยให้ความสำคัญกับเหตุผลการเลือกใช้เครื่องมือ และผลของ การใช้เครื่องมือนั้น 6.3 ใช้การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือปรับปรุงกระบวนงานภารกิจสนับ สนุนเช่นการจัดทำคู่มือแนวทางการปฏิบัติงานการสร้างความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรม การปรับปรุงกระบวนการให้บริการ เป็นต้น หลักฐาน 6.1 , 6.2 , 6.3 6.3.1 , 6.3.2