ระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้งานปากกาอิเลคทรอนิกส์
Advertisements

ยินดีต้อนรับผู้เข้าอบรมการบริหารเว็บไซต์
บทที่ 8 การใช้รูปภาพ และการออกแบบกราฟฟิกสำหรับเว็บ
ณ ห้องประชุมปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (CAI)
" จัดการรูปภาพเพื่อแทรกใน เอกสารต่าง ๆ หรือเวปเพจ อย่างง่ายด้วย โปรแกรม SnagIT" " จัดการรูปภาพเพื่อแทรกใน เอกสารต่าง ๆ หรือเวปเพจ อย่างง่ายด้วย โปรแกรม.
กราฟิกสำหรับเว็บไซต์
เครื่อง Server บนระบบอินเตอร์เน็ต (Linux)
การกำหนดขนาดของรูปภาพ การใช้รูปภาพเป็น Background
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ศักดิ์ของกฎหมาย Hierarchy of law.
ตกแต่งบล็อกแบบง่ายๆ ด้วย css - การเปลี่ยนภาพที่หัวบล็อก - การเปลี่ยนพื้นหลัง - การเปลี่ยนเมาส์
AVG Antivirus ปรับปรุง 17 เมษายน download
Avira Antivirus ปรับปรุง 17 เมษายน 2557
Avast Antivirus ปรับปรุง 17 เมษายน
กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ
การออกรายงานเอกสาร PDF
การแทรกรูปภาพ บนเว็บเพจ.
รู้จักกับชนิดของภาพกราฟิกบนเว็บ
Pretest.
. ในเว็บเพจนั้นมีเพียง 3 ชนิด ซึ่งเว็บบราวเซอร์ส่วน ใหญ่จะสนับสนุนฟอร์แมตของรูปภาพ GIF, JPG, PNG.
อ.เดชรัตน์ ไตรโภค (อ.โอ๋) www . oho888 . com โทร
เสริมเว็บให้ดูสวย.
โครงการจัดทำข้อมูลผ่านเว็บไซต์
นางสาวเจนนี่ เจา นางสาวเจนนี่ เจา
บทที่ 4 การนำเสนองาน.
ปี 2559 โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูล จปฐ. และข้อมูลพื้นฐาน
เรื่อง หลักการและแนวทางทั่วไป การขออนุมัติโอน เปลี่ยนแปลง ปรับเพิ่ม – ลดงบประมาณ และ รายการ วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2559 คณะวิทยาศาสตร์
กลุ่มงานบริหารงานบุคคล กลุ่มอำนวยการ สถาบันพระบรมราชชนก.
การอบรมระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
บทที่ 5 การสร้างแผนภาพความคิด
O365 คืออะไร ? Office 365 คือบริการการใช้งานโปรแกรม Office บนเครื่องคอมพิวเตอร์ และมือถือ และบริการพื้นที่ ออนไลน์ฟรีในการเก็บข้อมูล OneDrive การสื่อสารผ่าน.
การเก็บคะแนน 100 คะแนน ก่อนกลางภาค 30 คะแนน สมุดจด.
Web Design.
ประชุม Video Conference ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การออกแบบและพัฒนาเว็บ (WEB DESIGN AND DEVELOPMENT)
การประเมินสมรรถนะออนไลน์ e-Competency

ADOBE Dreamweaver CS3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
สำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
อาจารย์สุธารัตน์ ชาวนาฟาง
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
โปสเตอรงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ขั้นตอนการเข้าใช้งานในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-MES)  การรายงานผลตามแบบติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการ  (ยุทธศาสตร์ นโยบาย งบประมาณ และอื่น ๆ ปีงบประมาณ.
ระบบบริหารการจัดสอบ NT ACCESS.
SGS : Secondary Grading System
ระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง
รูปแบบและขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
คำแนะนำจากส่วนส่งเสริมและบริการการศึกษา
กระบวนการหนังสือราชการ สำนักโรคติดต่อทั่วไป
ขั้นตอนการรับและการเบิกจ่ายเงิน โครงการตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกร ตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง ปี 2558/59 นางกุลฤดี พัฒนะอิ่ม ผู้อำนวยการกองคลัง.
ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ
Google Documents By Aj.Net Tullabhat Boonterm
วิธีเข้าระบบทดสอบจริยธรรมตำรวจ
เปลี่ยนนามสกุล เป็น .xls หรือ .xlsx
โทร. (มท) หรือ โทร มีนาคม 2559.
สัญลักษณ์พยากรณ์อากาศ
โดย งานบริหารบุคลากรและค่าตอบแทน
การสมัครเข้าใช้งานโปรแกรม (การขอ Username/ Password)
ระบบโปรแกรมทะเบียนเกษตรกรรายแปลง
การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด
เทคนิคการนำเสนองาน Research Methodology.
การใช้ระบบโปรแกรม การกำหนดสิทธิ์การใช้งาน  เจ้าหน้าที่ บันทึก
ภาพนิ่ง (Still Image).
ทำยังไงเรียกเก็บแล้วได้เงิน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง

แผนผังและโครงสร้างของระบบ

ข้อมูลสิทธิ์การใช้งาน สิทธิ์การ ใช้งาน คำอธิบาย งานทางละเมิด / งานทางแพ่ง / งานลาศึกษา / ฐานข้อมูลลูกหนี้ เปิดใช้งาน เข้าหน้าจอค้นหางานทางละเมิด / งาน ทางแพ่ง / งานลาศึกษา / ฐานข้อมูล ลูกหนี้ ได้ แต่จะค้นหาข้อมูลได้ตาม สิทธิ์ที่ตนเองได้รับ สร้าง สามารถสร้างสำนวน/คดีของแต่ละ ระบบงานได้ ลบ สามารถลบสำนวน/คดีของแต่ละ ระบบงานได้ หัวหน้า งาน สามารถค้นหาสำนวน/คดีของแต่ละ ระบบงานได้ทั้งหมด ตามหน่วยงานที่ ตนเองมีสิทธิ์ และแก้ไขข้อมูลในสถานะ “ยืนยันข้อมูล” ได้ 3

ข้อมูลสิทธิ์การใช้งาน ชื่อกลุ่มสิทธิ์ คำอธิบาย 1 ผู้ดูแลระบบหน่วยงาน สำหรับจัดการข้อมูลผู้ใช้งานภายในหน่วยงานตนเอง และหน่วยงานในสังกัดของตนเอง 2 ตรวจสอบภายใน (หน่วยงาน) สำหรับเรียกดูรายงานสถิติความเสียหาย และจำนวนสำนวน/เรื่องที่บันทึกของแต่ละระบบย่อย 3 ผู้ใช้งานระบบละเมิด บันทึกข้อมูลของงานทางละเมิด ในระดับผู้ปฏิบัติงาน โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา และสร้างสำนวนทางละเมิด 4 ผู้ใช้งานระบบแพ่ง บันทึกข้อมูลของงานทางแพ่ง ในระดับผู้ปฏิบัติงาน โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา และสร้างสำนวนทางแพ่ง 5 ผู้ใช้งานระบบลาศึกษา บันทึกข้อมูลของระบบสัญญารับทุนและลาศึกษา ในระดับผู้ปฏิบัติงาน โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา และสร้างข้อมูลสัญญารับทุนและลาศึกษา 3

ข้อมูลสิทธิ์การใช้งาน ชื่อกลุ่มสิทธิ์ คำอธิบาย 6 ผู้ใช้งานระบบฐานลูกหนี้ บันทึกข้อมูลของระบบฐานข้อมูลลูกหนี้ ในระดับผู้ปฏิบัติงาน โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา และตั้งหนี้ 7 หัวหน้าระบบละเมิด (สำหรับหน่วยงาน) กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้าฝ่าย โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา สร้างสำนวนทางละเมิด แก้ไขข้อมูล และลบสำนวน 8 หัวหน้าระบบแพ่ง (สำหรับหน่วยงาน) กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้าฝ่าย โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา สร้างสำนวนทางแพ่ง แก้ไขข้อมูล และลบสำนวน 9 หัวหน้าระบบลาศึกษา (สำหรับหน่วยงาน) กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้าฝ่าย โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา บันทึกสัญญา แก้ไขข้อมูล และลบสัญญา 10 หัวหน้าระบบฐานลูกหนี้ (สำหรับหน่วยงาน) กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้าฝ่าย โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา ตั้งหนี้ แก้ไขข้อมูล และลบข้อมูลหนี้ 3

ข้อมูลสิทธิ์การใช้งาน ชื่อกลุ่มสิทธิ์ คำอธิบาย 11 หัวหน้างานระบบละเมิด กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้ากอง อธิบดี โดยมีสิทธิ์ในการค้นหาทุกสำนวนทางละเมิดในหน่วยงาน สร้างสำนวน แก้ไขข้อมูล และลบข้อมูล 12 หัวหน้างานระบบแพ่ง กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้ากอง อธิบดี โดยมีสิทธิ์ในการค้นหาทุกสำนวนทางแพ่งในหน่วยงาน สร้างสำนวน แก้ไขข้อมูล และลบข้อมูล 13 หัวหน้างานระบบลาศึกษา กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้ากอง อธิบดี โดยมีสิทธิ์ในการค้นหาทุกสัญญาในหน่วยงาน บันทึกสัญญา แก้ไขข้อมูล และลบข้อมูล 14 หัวหน้างานระบบฐานลูกหนี้ กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้ากอง อธิบดี โดยมีสิทธิ์ในการค้นหาลูกหนี้ทุกรายในหน่วยงาน ตั้งหนี้ แก้ไขข้อมูล และลบข้อมูล 3

ข้อมูลสิทธิ์การใช้งาน ชื่อกลุ่มสิทธิ์ คำอธิบาย 15 ผู้ดูแลระบบ (ศทส.) กลุ่มสิทธิ์สำหรับศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง มีสิทธิ์ในการจัดการข้อมูลพื้นฐานและตั้งค่าระบบ รวมถึงเรียกดูรายงานทั้งหมดของระบบ 16 ผู้ดูแลระบบส่วนกลาง กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ดูแลระบบของกองละเมิดและแพ่ง มีสิทธิ์ในการใช้งานทุกเมนู และเข้าถึงรายงานทั้งหมด 17 ผู้ดูแลระบบกลุ่มงาน กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ดูแลระบบของแต่ละกลุ่มงานในกองละเมิดและแพ่ง โดยมีสิทธิ์ในการจัดการผู้ใช้งานแต่ละกลุ่มงาน 18 ผู้จัดการข่าว กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานที่มีหน้าที่ในการจัดการข่าวสารประชาสัมพันธ์ของระบบ 3

ข้อมูลสิทธิ์การใช้งาน ชื่อกลุ่มสิทธิ์ คำอธิบาย 19 เจ้าหน้าที่ กลพ. กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานของ กลพ. ระดับผู้ปฏิบัติการ โดยมีสิทธิ์การใช้งานระบบงานทางละเมิด แพ่ง ลาศึกษา และฐานลูกหนี้ รวมถึงงาน กลพ. 20 หัวหน้า กลพ. กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานของ กลพ. ระดับหัวหน้าฝ่าย โดยมีสิทธิ์การใช้งานระบบงานทางละเมิด แพ่ง ลาศึกษา และฐานลูกหนี้ รวมถึงงาน กลพ. 21 หัวหน้างาน กลพ. กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้ากอง อธิบดี โดยมีสิทธิ์ในการใช้งานระบบงานทางละเมิด แพ่ง ลาศึกษา ฐานลูกหนี้ และงาน กลพ. 22 เจ้าหน้าที่เร่งรัด กลพ. กลุ่มสิทธิ์สำหรับเจ้าหน้าที่เร่งรัด โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา และตั้งหนี้ 3

ข้อควรทราบก่อนใช้งาน ประเภทผู้ใช้งาน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ กลพ. และ เจ้าหน้าที่หน่วยงาน ผู้ใช้งาน มีได้ไม่จำกัดบนระบบ ผู้ใช้งาน 1 คนสามารถอยู่ภายใต้กลุ่มสิทธิ์ได้มากกว่า 1 กลุ่ม โดยสิทธิ์ที่ได้รับจะเท่ากับสิทธิ์ของแต่ละกลุ่มรวมกัน ผู้ใช้งานสามารถถูกระงับใช้งานได้ ชื่อผู้ใช้งาน (Username) ใช้อีเมลล์ในการเข้าสู่ระบบ และไม่สามารถซ้ำกันได้ รหัสผ่าน มีความยาว 8 –20 ตัวอักษร และต้องประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ หรือ อักขระพิเศษ และตัวเลขเท่านั้น ผู้ใช้งานสามารถเปลี่ยนรหัสผ่านเองได้ กรณีที่จำรหัสผ่านเดิมได้ 3

ข้อควรทราบก่อนใช้งาน (ต่อ) ผู้ใช้งานจะสามารถเข้าถึงข้อมูลได้เฉพาะหน่วยงานที่ตนเองสังกัดอยู่ แต่สามารถกำหนดให้เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงานอื่นๆ เพิ่มเติมได้ แสดงสายบังคับบัญชาของผู้ใช้งานในรูปแบบโครงสร้างต้นไม้ (Tree Structure) หัวหน้าสามารถเห็นสำนวน/คดีของผู้ใต้บังคับบัญชาทั้งหมด หัวหน้าเป็นผู้อนุมัติข้อมูลที่ผู้ใต้บังคับบัญชาส่งตรวจสอบ สามารถปรับย้ายโครงสร้างผู้ใช้งานได้

ข้อควรทราบก่อนใช้งาน (ต่อ) ผู้ดูแลระบบสามารถ Reset รหัสผ่านให้กับผู้ใช้งานได้ กรณีที่ผู้ใช้งานจำรหัสผ่านไม่ได้ ผู้ดูแลระบบสามารถสร้างรหัสผ่านให้กับผู้ใช้งาน และส่งไปยังอีเมลล์ตามที่กำหนดได้อัตโนมัติ ผู้ดูแลระบบสามารถกู้คืนข้อมูลผู้ใช้งานที่ถูกลบไปแล้วได้ ระบบมีการกำหนดค่า Session Time Out ไว้เป็นจำนวน 30 นาที 3

ข้อควรทราบก่อนใช้งาน (ต่อ) ผู้ใช้งานระดับปฏิบัติการ สามารถเข้าถึงได้เฉพาะสำนวนที่ตนเองเป็นผู้สร้างเท่านั้น ผู้ใช้งานไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้เมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถดูสำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ แต่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้ ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน” สามารถแก้ไขข้อมูลเมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” ได้ ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน” สามารถดูสำนวนของหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์ได้ทุกสำนวน ผู้ที่เข้าถึงสำนวนได้ สามารถเพิ่มผู้ใช้งานที่ไม่ใช่ผู้สร้างหรือหัวหน้าให้เข้าถึงสำนวนได้ เอกสารแนบ รองรับไฟล์นามสกุล jpeg, jpg, gif, png, pdf, doc, docx, zip, rar, xls, xlsx, ptt, pttx, 7zip ขนาดไม่เกิน 100MB 3

URL สำหรับใช้งานระบบ URL : http://tcls.cgd.go.th (ใช้งาน) URL : http://tclstraining.cgd.go.th (ฝึกอบรม/ฝึกใช้งาน)

การทำงานของระบบงานทางละเมิด

การทำงานระบบงานความรับผิดทางละเมิด   ระบบงาน ความรับผิดทาง ละเมิด เกิดความเสียหายทาง ละเมิด สิ้นสุดงานทางละเมิด สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น สอบข้อเท็จจริงความรับผิด ทางละเมิด วินิจฉัยสั่งการ ส่งสำนวนให้ กระทรวงการคลัง กระทรวงการคลังแจ้งผล การพิจารณาสำนวน หน่วยงานต้นสังกัดออก คำสั่ง ดำเนินคดี 3

ขั้นตอนบันทึกความเสียหาย ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “บันทึกความเสียหาย” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถเพิ่มข้อมูลได้เฉพาะหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์เข้าถึงเท่านั้น วันที่สำนวนขาดอายุความ จะคำนวณจาก “วันที่เกิดเหตุ + จำนวนปีของอายุความ – 1 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีสำนวนใหม่ หัวหน้า กลพ. > มีสำนวนใหม่ หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

ขั้นตอนไล่เบี้ย ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “การไล่เบี้ย” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการไล่เบี้ยได้หลายครั้ง แต่วันที่เกิดเหตุต้องไม่ซ้ำกัน “วันที่สำนวนขาดอายุความ” คำนวณจาก “อายุความ + วันที่จ่ายเงินชดใช้ให้แทน -1 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนการสอบเบื้องต้น ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล ฟอร์ม “ผลการสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น” 3

ขั้นตอนการสอบละเมิด ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงทางละเมิด” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกข้อมูลการสอบละเมิดได้หลายครั้ง แต่เลขที่คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการต้องไม่ซ้ำกัน หน่วยงานหลักและหน่วยงานร่วม ต้องไม่เป็นหน่วยงานเดียวกัน เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนการสอบละเมิด (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการสอบข้อเท็จจริงทางละเมิด” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล หากระบุความเห็นคณะกรรมการเป็น “มีเจ้าหน้าที่ต้องรับผิด” จะต้องระบุข้อมูลผู้ต้องรับผิดตามผลการสอบละเมิดด้วย ผู้ต้องรับผิดตามผลการสอบละเมิด สามารถเลือกได้จากข้อมูลผู้เกี่ยวข้องที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนบันทึกความเสียหาย หรือจะเพิ่มผู้ต้องรับผิดตามผลการสอบละเมิดใหม่ก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนวินิจฉัยสั่งการ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำวินิจฉัยสั่งการ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถบันทึกคำวินิจฉัยสั่งการได้หลายครั้งต่อคณะกรรมการสอบละเมิด 1 ชุด โดยเลขที่คำสั่งต้องไม่ซ้ำกัน กรณีที่คณะกรรมการสอบละเมิด ประกอบด้วยหน่วยงานหลักและหน่วยงานร่วม จะต้องกรอกคำวินิจฉัยสั่งการของทุกหน่วยงาน “วันครบกำหนดวินิจฉัยสั่งการ” คำนวณจาก “วันที่วินิจฉัยสั่งการ + ครบกำหนดวินิจฉัย-1” หากระบุความเห็นคณะกรรมการเป็น “มีเจ้าหน้าที่ต้องรับผิด” จะต้องระบุข้อมูลผู้ต้องรับผิดเพิ่มเติม ผู้ต้องรับผิดตามผลการสอบละเมิด สามารถเลือกได้จากข้อมูลผู้เกี่ยวข้องที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนสอบข้อเท็จจริงทางละเมิดเท่านั้น ไม่สามารถเพิ่มใหม่ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนส่งสำนวนให้กระทรวงการคลัง ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลการส่งสำนวนให้กระทรวงการคลัง” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการส่งสำนวนได้หลายครั้ง แต่วันที่ส่งสำนวนต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 3

ขั้นตอนแจ้งผลการพิจารณา ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “การแจ้งผลการพิจารณา” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” ในขั้นตอนส่งสำนวนให้กระทรวงการคลังเท่านั้น ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการแจ้งผลการพิจารณาได้หลายครั้ง แต่วันที่แจ้งผลการพิจารณาต้องไม่ซ้ำกัน กรณีระบุผลการพิจารณาเป็น “มีเจ้าหน้าที่ต้องรับผิด” จะต้องระบุชื่อผู้ต้องรับผิดด้วย ผู้ต้องรับผิดสามารถเลือกได้จากข้อมูลผู้ต้องรับผิดที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนวินิจฉัยสั่งการเท่านั้น ไม่สามารถเพิ่มใหม่ได้ 3

ขั้นตอนแจ้งผลการพิจารณา (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “การแจ้งผลการพิจารณา” (ต่อ) เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

ขั้นตอนออกคำสั่ง ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ออกคำสั่ง” ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการออกคำสั่งได้หลายครั้ง ในการออกคำสั่งแต่ละครั้ง ต้องระบุผู้ต้องรับผิดเสมอ อย่างน้อย 1 คน ผู้ต้องรับผิดสามารถเลือกได้จากข้อมูลผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนก่อนหน้าทั้งหมด (บันทึกความเสียหาย, สอบละเมิด) แต่ไม่สามารถเพิ่มใหม่ได้ หากระบุผู้ต้องรับผิดหลายคนต่อสัดส่วนความรับผิดเดียวกัน หมายถึง รับผิดร่วมกัน ระบบคำนวณเงินที่ต้องรับผิด จาก “จำนวนเงินค่าเสียหาย*สัดส่วนความรับผิด/100” เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนอุทธรณ์คำสั่ง ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “การอุทธรณ์คำสั่ง” สามารถบันทึกการอุทธรณ์คำสั่งได้หลายครั้ง ต่อ 1 คำสั่ง แต่ผู้ขออุทธรณ์ต้องไม่ซ้ำกัน ผู้ขออุทธรณ์จะแสดงเฉพาะรายชื่อผู้ต้องรับผิด ที่บันทึกไว้ในขั้นตอนออกคำสั่งเท่านั้น ฟิลด์ “อ้างอิงคำสั่งเลขที่” จะเปลี่ยนไปตามผู้ขออุทธรณ์ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนดำเนินคดี ฟอร์ม “ข้อมูลคดี” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลคดี” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการดำเนินคดีได้หลายครั้ง และหลายชั้นศาล แต่หมายเลขคดีดำต้องไม่ซ้ำกัน ประเภทศาล มีเฉพาะศาลปกครองเท่านั้น สามารถเลือกคู่ความ/คู่กรณีของคู่กรณีได้จาก ข้อมูลผู้เกี่ยวข้องหรือผู้ต้องรับผิดที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนก่อนหน้า (บันทึกความเสียหาย, สอบละเมิด) หรือจะเพิ่มคู่ความ/คู่กรณีใหม่ก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “เอกสารประกอบกระบวนการพิจารณาในชั้นศาล” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ฟอร์มนี้จะบันทึกหรือไม่บันทึกก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำพิพากษา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล กรณีระบุผลของคำพิพากษาเป็น “อื่นๆ” ชื่อผู้ที่ได้รับการพิพากษาจะต้องเป็นคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกในฟอร์ม “ข้อมูลคดี” เท่านั้น วันครบกำหนดอุทธรณ์ คำนวณจาก “วันที่ศาลอ่านคำพิพากษา + 30 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนสิ้นสุดงานทางละเมิด ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “สิ้นสุดงานทางละเมิด” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > ปิดงาน หัวหน้า กลพ. > ปิดงาน หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

การทำงานของระบบงานทางละเมิด สาธิตการทำงาน 3

การเปลี่ยนแปลงสถานะ แก้ไขได้ (เฉพาะหัวหน้า) ยืนยันข้อมูล แก้ไขได้ บันทึกร่าง ส่งตรวจสอบ แก้ไขได้ ปฏิเสธข้อมูล 11

การทำงานของระบบงานทางแพ่ง

การทำงานระบบงานความรับผิดทางแพ่ง   ราชการชดใช้ ข้อพิพาทขั้นต้น พิจารณาข้อพิพาท ดำเนินคดีขั้นอนุญาโตตุลาการ พิจารณาชี้ขาด ระบบงาน ความรับผิดทางแพ่ง สิ้นสุดงานลูกหนี้ ดำเนินคดี ชำระเงินครบถ้วน สิ้นสุดทางแพ่ง 3

การทำงานระบบงานความรับผิดทางแพ่ง ข้อมูลที่ควรทราบ ผู้ใช้งานระดับปฏิบัติการ สามารถเข้าถึงได้เฉพาะสำนวนที่ตนเองเป็นผู้สร้างเท่านั้น ผู้ใช้งานไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้เมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถดูสำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถแก้ไขข้อมูลเมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” ได้ ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน” สามารถดูสำนวนของหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์ได้ทุกสำนวน ผู้ที่เข้าถึงสำนวนได้ สามารถเพิ่มผู้ใช้งานที่ไม่ใช่ผู้สร้างหรือหัวหน้าให้เข้าถึงสำนวนได้ เอกสารแนบ รองรับไฟล์นามสกุล jpeg, jpg, gif, png, pdf, doc, docx, zip, rar, xls, xlsx, ptt, pttx, 7zip ขนาดไม่เกิน 100MB 3

ขั้นตอนข้อพิพาทขั้นต้น ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อพิพาทขั้นต้น” (ต่อ) หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถเพิ่มข้อมูลได้เฉพาะหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์เข้าถึงเท่านั้น วันที่สำนวนขาดอายุความ จะคำนวณจาก “วันที่เกิดเหตุ + จำนวนปีของอายุความ – 1 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีสำนวนใหม่ หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 3

ขั้นตอนพิจารณาข้อพิพาท ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “พิจารณาข้อพิพาท” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล หากไม่ได้คลิกเลือก “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” ในขั้นข้อพิพาทขั้นต้น กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล หากคลิกเลือก “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” ในขั้นข้อพิพาทขั้นต้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

ขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลชั้นอนุญาโตตุลาการ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกข้อมูลอนุญาโตตุลาการได้หลายครั้ง แต่วันที่ยื่นข้อพิพาทต้องไม่ซ้ำกัน สามารถเลือกคู่ความ/คู่กรณีของอนุญาโตตุลาการได้จาก ข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนข้อพิพาทขั้นต้น หรือจะเพิ่มคู่ความ/คู่กรณีใหม่ก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ผู้ต้องชดใช้ จะต้องเป็นหนึ่งในคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกไว้ที่ฟอร์ม “ข้อมูลชั้นอนุญาโตตุลาการ” เอกสารแนบกรณีที่ส่ง/ไม่ส่งกระทรวงการคลังพิจารณาจะแตกต่างกัน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 3

ขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” เท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

ขั้นตอนดำเนินคดี ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลคดี” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการดำเนินคดีได้หลายครั้ง และหลายชั้นศาล แต่หมายเลขคดีดำต้องไม่ซ้ำกัน สามารถเลือกคู่ความ/คู่กรณีของคู่กรณีได้จาก ข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนข้อพิพาทขั้นต้น หรือขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ (กรณีเพิ่มข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีใหม่ในขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ) หรือจะเพิ่มคู่ความ/คู่กรณีใหม่ก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “เอกสารประกอบกระบวนการพิจารณาในชั้นศาล” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ฟอร์มนี้จะบันทึกหรือไม่บันทึกก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ประนีประนอมยอมความ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 การดำเนินคดี สามารถบันทึกการประนีประนอมยอมความได้หลายครั้ง แต่วันที่บันทึกข้อมูลต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 3

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” เท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำพิพากษา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล กรณีระบุผลของคำพิพากษาเป็น “อื่นๆ” ชื่อผู้ที่ได้รับการพิพากษาจะต้องเป็นคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกในฟอร์ม “ข้อมูลคดี” เท่านั้น วันครบกำหนดอุทธรณ์ คำนวณจาก “วันที่ศาลอ่านคำพิพากษา + 30 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนชดใช้ของส่วนราชการ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ชดใช้ของส่วนราชการ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการชดใช้ของส่วนราชการได้หลายครั้ง เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนสิ้นสุดงานทางแพ่ง ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “สิ้นสุดงานทางแพ่ง” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > ปิดงาน หัวหน้า กลพ. > ปิดงาน หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

การทำงานของระบบงานทางแพ่ง สาธิตการทำงาน 3

การทำงานของระบบสัญญารับทุน/ลาศึกษา

การทำงานระบบงานผิดสัญญารับทุน/ลาศึกษา 3

การทำงานระบบงานผิดสัญญารับทุน/ลาศึกษา (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ผู้ใช้งานระดับปฏิบัติการ สามารถเข้าถึงได้เฉพาะสำนวนที่ตนเองเป็นผู้สร้างเท่านั้น ผู้ใช้งานไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้เมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถดูสำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถแก้ไขข้อมูลเมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” ได้ ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน” สามารถดูสำนวนของหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์ได้ทุกสำนวน ผู้ที่เข้าถึงสำนวนได้ สามารถเพิ่มผู้ใช้งานที่ไม่ใช่ผู้สร้างหรือหัวหน้าให้เข้าถึงสำนวนได้ เอกสารแนบ รองรับไฟล์นามสกุล jpeg, jpg, gif, png, pdf, doc, docx, zip, rar, xls, xlsx, ptt, pttx, 7zip ขนาดไม่เกิน 100MB 4

ขั้นตอนบันทึกผู้ทำสัญญา ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลผู้ทำสัญญา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถเพิ่มข้อมูลได้เฉพาะหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์เข้าถึงเท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 5

ขั้นตอนบันทึกสัญญา ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลสัญญา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ผู้ทำสัญญา 1 ราย สามารถมีสัญญาได้มากกว่า 1 สัญญา สัญญามี 2 ประเภท ได้แก่ สัญญารับทุน และสัญญาลาศึกษา กรณีที่ผู้ทำสัญญามีการลาศึกษาและได้รับทุนในครั้งเดียวกัน ให้ระบุประเภทสัญญาเป็น “สัญญาลาศึกษา” การลาศึกษา ลาได้ 2 แบบ คือ ลาแบบต่อเนื่อง และ ลาโดยใช้เวลาราชการบางส่วน สัญญารับทุน สามารถกำหนดเงื่อนไขการนับเวลาชดใช้ได้ 2 แบบ ดังนี้  คำนวณวันตามจริง : คำนวณจากช่วงวันที่ได้รับทุนตามจริง  กำหนดเวลา : กำหนดระยะเวลาที่ต้องปฏิบัติราชการชดใช้ไว้คงที่ โดยหากระบุเป็น “ปี” ระบบจะคำนวณโดยนับ 1 ปี = 365 วัน ใน 1 สัญญา สามารถมีผู้ค้ำประกันได้มากกว่า 1 ราย 6

ขั้นตอนบันทึกสัญญา ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลสัญญา” (ต่อ) การคำนวณเงินเดือนที่ได้รับระหว่างลาศึกษา ให้รวมเงินเดือน เงิน พ.ช.ค. และเงินเพิ่มอื่นๆ ตามหลักเกณฑ์ดังนี้  กรณีลาเต็มเดือน ให้นำเงินที่ได้รับในแต่ละเดือนคูณจำนวนเดือน  กรณีลาไม่เต็มเดือน ให้นับเป็นวันตามความเป็นจริง เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล เงินเดือนที่ได้รับระหว่างลาศึกษา = (เงินเดือน + เงิน พ.ช.ค.+เงินเพิ่มอื่นๆ) x จำนวนเดือนที่ลา เงินเดือนที่ได้รับระหว่างลาศึกษา = (เงินเดือน + เงิน พ.ช.ค.+เงินเพิ่มอื่นๆ) x จำนวนวันที่ลา จำนวนวันทั้งหมดในเดือนนั้น 7

ขั้นตอนปฏิบัติราชการชดใช้ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “บันทึกข้อมูลการปฏิบัติราชการชดใช้” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงตารางสรุปการปฏิบัติราชการชดใช้ แยกตามสัญญา สามารถบันทึกการปฏิบัติราชการชดใช้ได้หลายช่วง แต่ต้องไม่อยู่ในช่วงระยะเวลาที่รับทุนหรือลาศึกษา หลังจากที่บันทึกวันที่ปฏิบัติราชการชดใช้แล้ว ระบบจะหักชดใช้ตามสัญญาฉบับแรกก่อน ส่วนที่เหลือจึงนำไปหักชดใช้ตามสัญญาที่เกิดขึ้นในลำดับต่อๆ ไป หลังจากบันทึกข้อมูลปฏิบัติราชการชดใช้แล้ว ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 8

ขั้นตอนเกิดการผิดสัญญา ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “เกิดการผิดสัญญา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล “ขาดอายุความวันที่” คำนวณจาก “วันที่ผิดสัญญา/ลาออก + อายุความฟ้องคดี -1วัน” ระบบจะแสดงตารางสรุประยะเวลาปฏิบัติราชการชดใช้คงเหลือ พร้อมทั้งจำนวนเงินที่ต้องชดใช้ แยกตามสัญญา จำนวนเงินที่ต้องชดใช้ ประกอบด้วย เงินเดือน เงินทุน เบี้ยปรับเงินเดือน และเบี้ยปรับเงินทุน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > เกิดการผิดสัญญา หัวหน้า กลพ. > เกิดการผิดสัญญา หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 9

ขั้นตอนเกิดการผิดสัญญา (ต่อ) สูตรการคำนวณเงินที่ต้องชดใช้ เงินเดือน (ที่ต้องชดใช้) = เงินเดือนที่ได้รับทั้งหมด x จำนวนวันชดใช้คงเหลือ ระยะเวลาที่ต้องชดใช้ เบี้ยปรับเงินเดือน = เงินเดือน (ที่ต้องชดใช้) x จำนวนเท่าของเบี้ยปรับเงินเดือน เงินทุน (ที่ต้องชดใช้) = เงินทุนที่ได้รับทั้งหมด x จำนวนวันชดใช้คงเหลือ ระยะเวลาที่ต้องชดใช้ เบี้ยปรับเงินทุน = เงินทุน (ที่ต้องชดใช้) x จำนวนเท่าของเบี้ยปรับเงินทุน 10

ขั้นตอนผ่อนผันรับราชการ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผ่อนผันรับราชการ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 ผู้ทำสัญญา สามารถบันทึกการผ่อนผันรับราชการได้หลายครั้ง แต่เลขที่สัญญาผ่อนผันต้องไม่ซ้ำกัน ระบบจะแสดงตารางสรุประยะเวลาปฏิบัติราชการชดใช้คงเหลือ พร้อมทั้งจำนวนเงินที่ต้องชดใช้ แยกตามสัญญา เมื่อมีการผ่อนผัน ระบบจะรวมจำนวนวันที่ต้องปฏิบัติราชการชดใช้คงเหลือ และจำนวนเงินที่ต้องชดใช้เป็นรายการเดียว เพื่อจัดทำเป็นสัญญาผ่อนผัน กรณีชดใช้เงินบางส่วน จะชดใช้ได้เฉพาะเงินเดือนเท่านั้น เมื่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานมีการบันทึกข้อมูลการผ่อนผันรับราชการ จะต้องส่งให้กระทรวง การคลังพิจารณาเสมอ 12

ขั้นตอนผ่อนผันรับราชการ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผ่อนผันรับราชการ” (ต่อ) เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 13

ขั้นตอนผ่อนผันรับราชการ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาผ่อนผันรับราชการ” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 14

ขั้นตอนผ่อนผันรับราชการ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “บันทึกวันที่ปฏิบัติราชการชดใช้ตามสัญญาผ่อนผัน” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถบันทึกการปฏิบัติราชการชดใช้ได้หลายช่วง หลังจากบันทึกข้อมูลปฏิบัติราชการชดใช้แล้ว ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 15

ขั้นตอนดำเนินคดี ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลคดี” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการดำเนินคดีได้หลายครั้ง และหลายชั้นศาล แต่หมายเลขคดีดำต้องไม่ซ้ำกัน ประเภทศาล มีเฉพาะศาลปกครองเท่านั้น สามารถเลือกคู่ความ/คู่กรณีของคู่กรณีได้จาก ข้อมูลผู้เกี่ยวข้องหรือผู้ต้องรับผิดที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนก่อนหน้า (บันทึกความเสียหาย, สอบละเมิด) หรือจะเพิ่มคู่ความ/คู่กรณีใหม่ก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 16

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “เอกสารประกอบกระบวนการพิจารณาในชั้นศาล” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ฟอร์มนี้จะบันทึกหรือไม่บันทึกก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 17

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำพิพากษา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล กรณีระบุผลของคำพิพากษาเป็น “อื่นๆ” ชื่อผู้ที่ได้รับการพิพากษาจะต้องเป็นคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกในฟอร์ม “ข้อมูลคดี” เท่านั้น วันครบกำหนดอุทธรณ์ คำนวณจาก “วันที่ศาลอ่านคำพิพากษา + 30 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 18

ขั้นตอนสิ้นสุดงานลาศึกษา ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “สิ้นสุดงานลาศึกษา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล กรณีระบุเหตุผลที่สิ้นสุดเป็น “ขอกลับเข้ารับราชการในหน่วยงานอื่น” เกิดเหตุการณ์ ดังนี้ คัดลอกสำนวนนี้ เพื่อให้หน่วยงานปลายทางที่ย้ายไปสามารถเรียกดูข้อมูลได้ แจ้งเตือนไปยังหัวหน้าหน่วยงานที่มีสิทธิ์เข้าใช้งานระบบงานลาศึกษา แจ้งเตือนไปยังหัวหน้างาน กลพ. ที่มีสิทธิ์เข้าใช้งานระบบงานลาศึกษา กรณีระบุเหตุผลที่สิ้นสุดเป็น “ส่งไประบบละเมิด” จะสามารถเลือกสำนวนนี้ได้ในขั้นตอนบันทึกความเสียหายของระบบงานทางละเมิด 19

ขั้นตอนสิ้นสุดงานลาศึกษา (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “สิ้นสุดงานลาศึกษา” (ต่อ) เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > ปิดงาน หัวหน้า กลพ. > ปิดงาน หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 20

การทำงานของระบบสัญญารับทุน/ลาศึกษา สาธิตการทำงาน 3

การทำงานของระบบฐานลูกหนี้

การทำงานระบบงานฐานข้อมูลลูกหนี้ 3

การทำงานระบบงานฐานข้อมูลลูกหนี้ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ผู้ใช้งานระดับปฏิบัติการ สามารถเข้าถึงได้เฉพาะสำนวนที่ตนเองเป็นผู้สร้างเท่านั้น ผู้ใช้งานไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้เมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถดูสำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถแก้ไขข้อมูลเมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” ได้ ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน” สามารถดูสำนวนของหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์ได้ทุกสำนวน ผู้ที่เข้าถึงสำนวนได้ สามารถเพิ่มผู้ใช้งานที่ไม่ใช่ผู้สร้างหรือหัวหน้าให้เข้าถึงสำนวนได้ เอกสารแนบ รองรับไฟล์นามสกุล jpeg, jpg, gif, png, pdf, doc, docx, zip, rar, xls, xlsx, ptt, pttx, 7zip ขนาดไม่เกิน 100MB 4

ขั้นตอนตั้งยอดหนี้ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ตั้งยอดหนี้” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถเพิ่มข้อมูลได้เฉพาะหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์เข้าถึงเท่านั้น “วันที่ขาดอายุความ” คำนวณจาก “วันที่เกิดหนี้ + อายุความ/ระยะเวลาบังคับคดี – 1วัน” สามารถตั้งหนี้ลอยโดยไม่ต้องอ้างอิงจากสำนวนที่มีในระบบได้ (สำหรับข้อมูลลูกหนี้เดิม) สามารถตั้งหนี้โดยอ้างอิงจากข้อมูลที่มาจากระบบงานทางละเมิด งานทางแพ่ง และงานลาศึกษาได้ โดยจะดึงข้อมูลผู้เกี่ยวข้องของสำนวนนั้นมาให้อัตโนมัติ กรณีเป็นลูกหนี้ร่วม ให้ตั้งหนี้ก้อนเดียวแล้วระบุลูกหนี้ทั้งหมดที่ต้องรับผิดชอบหนี้ก้อนนั้น การคิดดอกเบี้ยจะคิดจากเงินต้นเท่านั้น ไม่สามารถคิดดอกเบี้ยจากค่าใช้จ่ายอื่นๆ ได้ การชำระเงินบางส่วน  ต้องชำระค่าใช้จ่ายอื่นๆ ให้หมดก่อน จึงจะสามารถชำระเงินต้นได้  หนี้สกุลเงินใดต้องชำระคืนเป็นสกุลเงินนั้น 5

ขั้นตอนตั้งยอดหนี้ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ตั้งยอดหนี้” (ต่อ) “เงินต้น” เท่านั้นที่สามารถผ่อนชำระได้ ประเภทการผ่อนชำระ  แบบคงที่ : จ่ายเท่ากันทุกงวดตามจำนวนเงินที่ต้องการ  แบบลำดับขั้น : ระบุจำนวนเงินที่ต้องการชำระในแต่ละงวด  ตามเงื่อนไขเงินเดือน : ระบุร้อยละของเงินเดือนที่ต้องการชำระในแต่ละงวด  กำหนดระยะเวลา : ระบุจำนวนงวดที่ต้องการชำระ ยอดชำระที่จ่ายในแต่ละงวด จะหักดอกเบี้ยก่อนจึงจะหักเงินต้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล 6

ขั้นตอนตั้งยอดหนี้ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ตั้งยอดหนี้” (ต่อ) หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีหนี้ใหม่ หัวหน้า กลพ. > มีหนี้ใหม่ หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” แทนการแจ้งเตือน มีหนี้ใหม่ 7

ขั้นตอนตั้งยอดหนี้ (ต่อ) สูตรคำนวณตารางผ่อนชำระ หักดอกเบี้ยคงค้าง = เงินต้น x อัตราดอกเบี้ยต่อปี x จำนวนวันที่คิดดอกเบี้ย จำนวนวันใน 1 ปี หักเงินต้น = ยอดชำระ - หักดอกเบี้ยคงค้าง เงินต้นค้าง = เงินต้น - หักเงินต้น 8

ขั้นตอนตั้งยอดหนี้ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” เท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 9

ขั้นตอนบันทึกการชำระเงิน ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “บันทึกการชำระเงิน” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ชำระได้เฉพาะหนี้ที่เป็นเงินต้นเท่านั้น หากต้องการชำระเงินค่าใช้จ่ายอื่นๆ จะบันทึกที่ ขั้นตอน “ตั้งยอดหนี้” หนี้สกุลเงินใดต้องชำระคืนเป็นสกุลเงินนั้น หากสกุลเงินที่ชำระไม่ตรงกับสกุลเงินของหนี้ จะต้องระบุอัตราแลกเปลี่ยนเพื่อให้ระบบคำนวณเป็นสกุลเงินของหนี้ให้ ยอดชำระที่จ่ายในแต่ละงวด จะหักดอกเบี้ยก่อนจึงจะหักเงินต้น เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 10

ขั้นตอนดำเนินคดี ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลคดี” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการดำเนินคดีได้หลายครั้ง และหลายชั้นศาล แต่หมายเลขคดีดำต้องไม่ซ้ำกัน สามารถเลือกคู่ความ/คู่กรณีของคู่กรณีได้จาก ข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนข้อพิพาทขั้นต้น หรือขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ (กรณีเพิ่มข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีใหม่ในขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ) หรือจะเพิ่มคู่ความ/คู่กรณีใหม่ก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 11

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “เอกสารประกอบกระบวนการพิจารณาในชั้นศาล” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ฟอร์มนี้จะบันทึกหรือไม่บันทึกก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 12

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ประนีประนอมยอมความ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 การดำเนินคดี สามารถบันทึกการประนีประนอมยอมความได้หลายครั้ง แต่วันที่บันทึกข้อมูลต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 13

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” เท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 14

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำพิพากษา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล กรณีระบุผลของคำพิพากษาเป็น “อื่นๆ” ชื่อผู้ที่ได้รับการพิพากษาจะต้องเป็นคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกในฟอร์ม “ข้อมูลคดี” เท่านั้น วันครบกำหนดอุทธรณ์ คำนวณจาก “วันที่ศาลอ่านคำพิพากษา + 30 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 15

ขั้นตอนบังคับคดีกับทรัพย์ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลการสืบทรัพย์” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 หนี้ สามารถบันทึกการสืบทรัพย์ได้หลายครั้ง กรณีระบุผลการติดตามเป็น “พบทรัพย์สิน” จะต้องระบุรายการทรัพย์สินที่พบด้วย เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล ฟอร์ม “ข้อมูลการยึด/อายัดทรัพย์” ใน 1 หนี้ สามารถบันทึกการยึด/อายัดทรัพย์ได้หลายครั้ง รายการทรัพย์สินที่ยึด/อายัด สามารถเลือกได้จากรายการทรัพย์สินที่สืบทรัพย์พบเท่านั้น ไม่ สามารถเพิ่มใหม่ได้ 16

ขั้นตอนบังคับคดีกับทรัพย์ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลการประกาศขายทอดตลาด” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถบันทึกการประกาศขายทอดตลาดได้หลายครั้ง เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล ฟอร์ม “ข้อมูลการขายทอดตลาด” สามารถบันทึกการขายทอดตลาดได้หลายครั้ง รายการทรัพย์สินที่ขายทอดตลาด สามารถเลือกได้จากรายการทรัพย์สินที่ยึด/อายัดได้เท่านั้น ไม่สามารถเพิ่มใหม่ได้ 17

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลการฟ้องคดีล้มละลาย” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการฟ้องคดีล้มละลายได้หลายครั้ง แต่หมายเลขคดีดำต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล ฟอร์ม “ข้อมูลการพิทักษ์ทรัพย์” ใน 1 คดี สามารถบันทึกข้อมูลการพิทักษ์ทรัพย์ได้หลายครั้ง 18

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลการจัดการทรัพย์สิน” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการจัดการทรัพย์สินได้หลายครั้ง แต่หมายเลขคดีดำต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 19

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 การดำเนินคดี สามารถบันทึกการประนอมหนี้ก่อนล้มละลายได้หลายครั้ง แต่วันที่บันทึกข้อมูลต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 20

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” เท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 21

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำพิพากษา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 22

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ประนอมหนี้หลังล้มละลาย” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 การดำเนินคดี สามารถบันทึกการประนอมหนี้หลังล้มละลายได้หลายครั้ง แต่วันที่บันทึกข้อมูลต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 23

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” เท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 24

ขั้นตอนตัดหนี้สูญ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ขั้นตอนตัดหนี้สูญ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ขั้นตอนนี้จะต้องส่งให้กระทรวงการคลังพิจารณาเสมอ เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 25

ขั้นตอนตัดหนี้สูญ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 26

ขั้นตอนสิ้นสุดข้อมูลลูกหนี้ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “สิ้นสุดข้อมูลลูกหนี้” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล กรณีระบุเหตุผลที่สิ้นสุดเป็น “แปลงหนี้ใหม่” เกิดเหตุการณ์ ดังนี้  สรุปจำนวนหนี้คงเหลือ พร้อมดอกเบี้ยการผ่อนชำระ ณ วันที่สิ้นสุดหนี้  สามารถสร้างหนี้ใหม่ จากหนี้คงเหลือ ณ ปัจจุบันได้ เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > ปิดงาน หัวหน้า กลพ. > ปิดงาน หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 27

การทำงานของระบบฐานลูกหนี้ สาธิตการทำงาน 3

งาน กลพ.

การจัดการศูนย์กลางการเรียนรู้

การค้นหา

ขอขอบคุณ นพพร อุณาภาค