การพยาบาลผู้ที่มีนึกคิดและการรับรู้ผิดปกติ : Dementia, Delirium

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Create Lists.
Advertisements

อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2559.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
วิธีการขอ User เพื่อใช้งาน OTP
Innovation and Information Technology in Education
สมองเสื่อม พญ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
Service Plan in Kidney Disease
Project based Learning
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
บทที่ 3 ปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมนุษย์
R & R Studio Program Installation.
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
โดยอาจารย์ นิตยา ศรีจำนง
สื่อการเรียนรู้ครูต้อม ประโยคควรรู้ในครอบครัว1 รายวิชาภาษาอังกฤษ ขั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 นางสาวลัดดาวัลย์ เขื่อนคำ ครูผู้สอน โรงเรียนสันมหาพนวิทยา อำเภอแม่แตง.
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
โลกกว้างที่แพทย์ต้องเผชิญ
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
วิลเลียม ฮาร์วีย์ (William Harvey) ด.ญ.กัณฐิกา จันแย้ ม.4.3 เลขที่ 1
การกำจัดขยะและสารเคมี
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
10 สถานที่ท่องเที่ยว ขอแนะนำ.
การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
การพยาบาลผู้ที่มีนึกคิดและการรับรู้ผิดปกติ : Dementia, Delirium
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
พลวัตความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่ :
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
การดำเนินกิจการ ของสหกรณ์ออมทรัพย์.
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การเตรียมความพร้อมในวันสิ้นปีงบประมาณ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการสอนซ่อมเสริมร่วมกับ
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
Credit Management ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพยาบาลผู้ที่มีนึกคิดและการรับรู้ผิดปกติ : Dementia, Delirium โดย อาจารย์ นิตยา ศรีจำนง

ความผิดปกติจากความเสื่อมด้านเชาวน์ปัญญาแบ่งตามลักษณะของ การเกิดอาการ : 1. Delirium เนื่องจากสมองเสียการทำหน้าที่ ทำให้มีการรับรู้ไม่ดี สับสนงุนงง(Disorientation) อาจมีอาการกลัวหรือ อาการ Hallucination (มี อาการเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว/ชั่วคราว/สามารถรักษาให้ หายได้)

2. Dementia สาเหตุจากภาวะเสื่อมของสมอง : มีอาการค่อยเป็นค่อยไป มีการสูญเสียด้านปัญญาอย่างถาวร รักษาไม่หาย

Delirium : อาการและอาการแสดง 1. มีความผิดปกติด้านสติสัมปชัญญะและการรู้ตัว : - มีการรับรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัวได้ไม่ดี - มีความผิดปกติด้านความสามารถในการสนใจสึ่งใด สิ่งหนึ่ง 2. มีอาการบ่งบอกความผิดปกติของเชาวน์ปัญญา (Cognition) : - การรับรู้ (Perception) อาจมีอาการ ประสาทหลอน (Haiiucination)/ แปลสิ่งที่เห็นผิด(Illution)..เห็นเชือกเป็นงู ความคิด (Thinking) ไม่สามารถหาเหตุผลตัดสินใจได้

- ความจำ (Memory) : ความจำปัจจุบัน 1) การรับข้อมูล (register) 2) การเก็บจำข้อมูล ( retain) 3) การเรียกใช้ข้อมูล (recall information) 3. อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย : ร่าเริงเกินไป โกรธ กลัว เกลียด เปลี่ยนได้โดยเฉียบพลันโดยที่ผู้อื่น ไม่คิด 4. มีปัญหาการนอน : ไม่ยอมนอน นอนไม่หลับ หรือ หลับๆตื่นๆ

ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะ Delirium 1. ติดเชื้อในสมอง/กระแสเลือด 2. หยุดสิ่งเสพติดทันที : สุรา/สารเสพติด จากการใช้เป็น เวลานาน ทำให้เกิดอาการขาด…สุรา 3. ได้รับสารพิษ : ตะกั่ว ปรอท จากสัตว์ 4. พิษจากการเผาผลาญสารอาหารไม่หมด : เบาหวาน ที่น้ำตาลสูงมาก/ต่ำมาก/ภาวะอินซูลินมากเกินไป 5. ภาวะออกซิเจนต่ำ/เส้นเลือดไปเลี้ยงสมองตีบตัน เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ 6. ฮอร์โมนไทรอยด์สูงหรือต่ำเกินไป

7. ภาวะไม่สมดุลของสารเกลือแร่ในร่างกาย 8 7.ภาวะไม่สมดุลของสารเกลือแร่ในร่างกาย 8. ศีรษะได้รับความกระทบกระเทือน 9. โรคลมชัก 10. เนื้องอกในสมอง : แผลในเนื้อสมอง ฝี เลือดออกในชั้นดูรา 11. ภาวะเลือดจางอย่างรุนแรง 12. การแพ้สารบางอย่างรุนแรง เช่น แพ้ซีรัม (Serum sickness)

ประเภทของ Delirium 1. Delirium due to a general medical condition ภาวะเสื่อมด้านสติปัญญาเนื่องจากได้รับยาเพื่อการรักษาโรค อาการแสดงออกมีดังนี้ : การรับรู้สับสน มีการรับรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัวได้ไม่ดี ความสนใจสั้นลง การรับรู้เวลาไม่ดี 2. Substance-induced Delirium ภาวะเสื่อมทางปัญญาและการมีสติรู้ตัวน้อยจากการได้รับสาร บางชนิด : เสพสุรา แอมเฟตตามีน กัญญา โคเคน สารหลอน ประสาทอื่น

3.Delirium due to multiple ethiologies ภาวะการมีสติรู้ตัวน้อยจากหลายสาเหตุ : เกิดจากยา/สมอง ได้รับการกระทบกระเทือนจากการเสพสุราเรื้อรัง ภาวะขาด สุราจากที่เคยใช้อยู่อย่างเรื้อรัง สมองเสื่อม(Dementia) สาเหตุจากความเสื่อมของเซลล์ประสาทในสมอง มีความเสื่อมด้านความจำ : มีอาการดังนี้อย่างน้อย 1 อาการ ของความเสื่อมด้าน ภาษา(Aphasia)/ การความคุมการ เคลื่อนไหว (Apraxia)/การแยกแยะสิ่งของ(Agnosia)

Dementia of the Alzheimer,s Type ภาวะสมองเสื่อมถาวร ไม่สามารถรักษาให้หายได้ เกณฑ์การวินิจฉัย : Aphasia/Apraxia/Agnosia/Mnemonic disturbance (recentmemory/remote memory) อาการแสดงออก : เดินเรื่อยเปื่อย ไม่มีจุดมุ่งหมาย มี พฤติกรรมซ้ำๆ รื้ค้นของ ซ่อนของ อยู่ไม่นิ่ง ทะเลาะ เบาะแว้ง ฉุนเฉียว แก้เสื้อผ้า พฤติกรรมทางเพศไม่เหมาะสม

สาเหตุของสมองเสื่อม Alzheimer - พันธุกรรม - ปัจจัยอื่นๆ : - สมองได้รับความกระทบกระเทือน - โรคไขข้ออักเสบ - เพศหญิงเสี่ยงกว่าเพศชาย 2 เท่า ผู้ที่มีการศึกษาสูงมีแนวโน้มเป็นสมองเสื่อมน้อย กว่า - การใช้สมองมากๆโอกาสสมองเสื่อมจะน้อย

ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุมีการรับรู้ผิดปกติ มีความบกพร่องในการดูแลตนเองเนื่องจากมีอาการสับสน วุ่นวาย นอนหลับได้ไม่เพียงพอมีอาการประสาทหลอนและแปลภาพผิด อาจเกิดอันตรายต่อตนเองและผู้อื่นเนื่องจากควบคุมอารมณ์ไม่ได้จากการเสียหน้าที่ของสมอง ไม่สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจากมีความจำเสื่อม

การพยาบาลผู้ที่มีความเสื่อมด้านเชาวน์ปัญญา จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในห้องที่มีแสงสว่างเพียงพอ มีของใช้เฉพาะที่จำเป็น เพื่อป้องกันอันตราย/อุบัติเหตุ ไม่เปลี่ยนผู้ดูแลบ่อยๆเพื่อลดอาการสับสน วุ่นวาย พูดคุยกับผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอและให้ผู้ป่วยอยู่ใกล้กับผู้อื่นเพื่อกระตุ้นการรับรู้และป้องกันความเสื่อมของเชาวน์ปัญญา

การพยาบาลผู้ที่มีความเสื่อม ด้านเชาวน์ปัญญา จัดให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย มีคนอยู่ใกล้ชิดพร้อมที่จะให้การช่วยเหลือเพื่อป้องกันอันตราย/อุบัติเหตุ จัดให้มีคนช่วยเหลือในการดูแลตนเองในระยะแรกๆ และกระตุ้นให้ดูแลตนเองให้มากขึ้น

Thank you for your attention