สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑ จากการประชุมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ ๒๖ ธันวาคม เวลา ๐๘.๓๐-๑๔.๐๐ น. ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
ผลการดำเนินงานคัดกรองวัณโรคปี ๖๑(๓เดือน) นโยบาย : ให้มีการคัดกรองเชิงรุกให้เสร็จ มีนาคม 61 ๑. จังหวัดกำหนดเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงให้อำเภอ (ธ.ค.๖๐) ๒. อำเภอตรวจสอบเป้าหมายและรายงานผลงาน (ม.ค.๖๑) ๓. ผลงานคัดกรอง ๑๗ อ. ( ๑-๓๐.๙% ) จาก TBCM online ณ. ๔ม.ค.๖๑ สาเหตุที่การรายงานคัดกรองต่ำ จาก อบรมโปรแกรม TBCM online เพิ่งแล้วเสร็จครบทุกอำเภอ 28ธค.60 ดำเนินการคัดกรองแล้ว แต่ยังไม่ได้ลงในโปรแกรม TBCM online มีการปรับแนวทางคัดกรองและรายงานปี61 ในระดับเขต และจังหวัด
๑. ข้อเสนอเพื่อพิจารณา : แนวทางการคัดกรองTB ๑. ใช้แนวทางคัดกรองตามมาตรฐานกระทรวงกำหนด ๒.แบ่งการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง 2 กลุ่ม ๒.๑ กลุ่มเสี่ยงสูง : CXR ๑๐๐% - HIV - ผู้สัมผัสผู้ป่วยTBย้อนหลัง ๒ ปี - COPD - ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง(AI>11) - ผู้ต้องขัง - บุคลากรโรงพยาบาล ๒.๒ กลุ่มเสี่ยงทั่วไป : แบบคัดกรอง ๑๐๐% -โรคเรื้อรัง DM, โรคตับ, โรคหัวใจ, ไตวาย(CKDระดับ๔.๕), CA - ผู้สูงอายุติดสังคม - แรงงานต่างด้าว (ขึ้นทะเบียนและไม่ขึ้นทะเบียน) - ผู้ป่วยทุพโภชนาการ ค่า BMI < ๑๘.๕ ที่เป็นอักษรสีแดง เป็นนโยบายที่เขตปรับเพิ่มเติมในปี61
สถานการณ์วัณโรค และ DOT ปี๖๑ (๑ต.ค.-๓๑ธ.ค.๖๐) ผู้ป่วยวัณโรค ๓๖๒ ราย ทำDOT ๖๕ ราย(๑๗.๙๖%) เสียชีวิต ๒๓ คน(๖.๓๔%) - อายุ < ๖๐ปี ๙ ราย (HIV+ ๔ ราย) - อายุ > ๖๐ปี ๕ ราย ผู้ป่วยสีแดง ๕๖ ราย ทำ DOT ๑๔ ราย(๒๕%) เสียชีวิต ๙ คน (ทุกรายไม่มีรายงานทำ DOT) ข้อมูลTB CM online ณ ๑ มค๖๑
๒. ข้อเสนอเพื่อพิจารณา : แนวทางการ Admit และ DOT ดำเนินการตามหลักการ Home Ward เน้น DOT เข้มข้น แบ่งผู้ป่วย ๓ กลุ่ม ๑.กลุ่มสีแดง :ผู้สูงอายุ > ๗๕ ปีทุกราย , อายุ ๖๐-๗๔ ปีที่มีโรคร่วม - Admit ๒ สัปดาห์ - ๒ สัปดาห์ - ๒ เดือน จนท.เยี่ยมสัปดาห์ละ 1ครั้ง - ระยะต่อเนื่อง จนท.เยี่ยมเดือนละ 1ครั้ง ๒.กลุ่มสีเหลือง :อายุ ๖๐ – ๗๔ ปีไม่มีโรคร่วม , < 60 ปีมีโรคร่วม จนท.เยี่ยมเหมือนกลุ่ม๑ ไม่Admit ๓.กลุ่มสีเขียว : อายุ< 60 ปีไม่มีโรคร่วม DOT โดย อสม.และญาติ จนท.สุ่มเยี่ยมตามเกณฑ์
๓. ข้อเสนอเพื่อพิจารณา :. แนวทางการรักษาวัณโรคและส่งต่อ Consult MDR Case ตามระบบ รพ.Nodeรักษาวัณโรคดื้อยา กำหนด Case Manager ผป.ดูแลผู้ป่วยทุกรายเข้มข้น อำเภอวิเคราะห์สาเหตุการตาย ,ทำ Dead Case Conference รายงานสาเหตุการตาย(ตามระบบระบาดฯ) รพ.หาสาเหตุการตายที่แท้จริงและแก้ไขรายงานTB CM onlineให้ถูกต้อง รักษาผป.ตามมาตรฐานและดูแลอาการข้างเคียงจากยา ส่งต่อผู้ป่วยตามระบบส่งต่อ Service plan โรคอื่นๆ
๔. ข้อเสนอเพื่อพิจารณา :. การกำกับติดตาม ๑. ทำ WAR ROOM TB&DHF ระดับจังหวัด อำเภอทุกเดือน ๓. จังหวัดติดตามTB CM online real time - การรักษาผู้ป่วยทุกราย DOT - ผลการคัดกรอง ๔. คืนข้อมูลในไลน์กลุ่ม TB เชียงใหม่,รายงานผู้บริหาร ทุกสุปดาห์ ๕. จังหวัด/อำเภอสุ่มเยี่ยมผู้ป่วย 2 ครั้ง/เดือน ๕. นำเข้าวาระ คพสจ. และคพสอ.ทุกเดือน
ให้หมดไปจากประเทศไทย