3. การอนุรักษ์ป่าไม้ กระทำได้โดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
Advertisements

มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550.
19 th and 20 th May 2013 Chiang Mai, Thailand
Globalization and the Law III
หลักธรรมาภิบาล ของ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย
การเขียนแบบ รายงาน การเยี่ยมสำรวจ นันทา ชัยพิชิตพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล
ปัญหาของการสะกดชื่อภาษาอังกฤษสำคัญไฉน ?
ประวัติเมืองน่าน โดย นาย กันตพล วาทกุลชร
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
โอฬาร เก่งรักษ์สัตว์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการลูกเสือ
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โรงเรียนของเรา.
เคมีอุตสาหกรรม พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวัน
สิ่งแวดล้อมและ ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์
Educational Technology & Instructional Technology
ความรู้รอบตัว......กับที่สุดในโลก
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานบริษัทในเครือวี-เซิร์ฟ กรุ๊ป
เรื่องของอาเซียน.
สถานการณ์ : ความหลากหลายทางชีวภาพ
ตอบปัญหาสัปดาห์วิทยาศาสตร์’56
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภัยธรรมชาติและการระวังภัยในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย
อนุสัญญาของสหประชาชาติด้านสิทธิมนุษยชน
GATT & WTO.
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
Globalization and the Law
บทบาทการสร้างประโยชน์ต่อประเทศไทยผ่านการเชื่อมองค์ความรู้และ แนวปฏิบัติจากนานาชาติและสหประชาชาติ
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System
Hilda  Taba  (ทาบา).
คุณค่าของระบบนิเวศต่อภาคธุรกิจ (The corporate ecosystem valuation)
เดินหน้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สู่ทศวรรษที่ 8
อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
พ.ญ.เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง อายุรแพทย์โรคไต โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
การดูแลและแนวทางการส่งต่อ-ส่งกลับผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
องค์กรรอบรู้สุขภาพ (Health Literate Organization)
สวัสดิการ พนักงานส่วนท้องถิ่น
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ASEAN-Swiss Partnership for Social Forestry and Climate Change
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการ
การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
นโยบายเร่งด่วน ของ ผบ.ตร.
เบื้องต้นว่าด้วยรัฐศาสตร์
ปฏิทิน 2561 Calendar 2018 วันสำคัญที่เกี่ยวข้อง ด้านสิทธิมนุษยชน ตามที่องค์การสหประชาชาติ (UN) กำหนด Rights and Liberties Protection Department.
SERVICE MARKETING การตลาดบริการ • ความหมายของการบริการ • ความสำคัญของการบริการ • ความแตกต่างระหว่างสินค้าและการบริการ • ประเภทธุรกิจบริการ.
โดย อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
เรื่องเดิม 2. การประกาศเขตส่งเสริมเพื่อกิจการอุตสาหกรรมในพื้นที่ EEC
การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพเพื่ออนาคต
“ทิศทางความร่วมมือในการลดการประสบอันตรายและโรคจากการทำงาน”
ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล (Indicators of Good Governance)
5ใจเลิกบุหรี่ ด้วยวิธี 5 D
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่สำคัญของโลก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การท่องเที่ยว และทรัพยากรการท่องเที่ยว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

3. การอนุรักษ์ป่าไม้ กระทำได้โดย

หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนนั้นสามารถทำได้หลายแนวทางซึ่หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรนั้นมีแนวทางดังต่อไปนี้ 1. การใช้แบบยั่งยืน (Sustainable utilization) การใช้แบบยั่งยืน หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสมให้ได้ประโยชน์สูงสุด เมื่อใช้แล้วเกิดมลพิษน้อยที่สุดหรือไม่เกิดเลย หรือเมื่อเกิดของเสียและมลพิษในสิ่งแวดล้อมก็ต้องหาวิธีการบำบัดกำจัดให้ฟื้นคืนสภาพ หรือนำของเสียมาใช้ประโยชน์ หรือรีไซเคิล (Recycle) เพื่อให้มลพิษในสิ่งแวดล้อมลดน้อยลง การใช้ทรัพยากรธรรมชาตินั้นเป็นไปตามความต้องการของสังคม ดังนั้นจึงต้อบนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ให้เกิดความพอดีระหว่างความต้องการความผาสุกของสังคม การสร้างฐานะทางเศรษฐกิจและสถานภาพสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการใช้แบบยั่งยืนอย่างมีประสิทธิภาพ

3. การรักษา ซ่อมแซม (Repair) 2. การเก็บกัก (Stroage) การเก็บกัก หมายถึง การรวบรวมและเก็บรักษาทรัพยากรที่มีแนวโน้มจะขาดแคลนได้ เพื่อเอาไว้ใช้ในอนาคต เช่น การกักเก็บน้ำ การเก็บกักเพื่อสร้างความมั่นคง เช่น การเก็บรักษาป่าไม้ แร่ น้ำมัน ปิโตรเลียม แก๊สธรรมชาติ ถ่านหิน เป็นต้น 3. การรักษา ซ่อมแซม (Repair) เมื่อทรัพยากรถูกทำลายโดยมนุษย์ หรือโดยธรรมชาติก็ตาม มีความจำเป็นที่จะต้องรักษา หรือซ่อมแซมให้กลับเป็นปกติ เช่น การเติมอากาศในบ่อบำบักน้ำเสีย การปลูกป่าทดแทนการเพาะพันธุ์สัตว์ป่าเพื่อนำไปปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ

4. การฟื้นฟู (Rehabilitation) 5. การป้องกัน (Prevention) เมื่อทรัพยากรธรรมชาติเกิดความเสื่อมโทรมไปจะต้องฟื้นฟูให้มีสภาพปกติ เพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรได้อีก และใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การเสริมสร้างที่อยู่อาศัยให้สิ่งมีชีวิตในทะเลโดยการสร้างแนวปะการังเทียมจากแท่งคอนกรีตหรือยางรถยนต์ หรือการปลูกป่า เป็นต้น 5. การป้องกัน (Prevention) การป้องกันเป็นวิธีการปกป้องคุ้มกันทรัพยากรมที่กำลังถูกทำลาย หรือมีแนวโน้มว่าจะถูกทำลายให้สามารถอยู่ในสภาพปกติได้ โดยการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ หรืออาจใช้กกหมายควบคุม

การอนุรักษ์เชิงชนิดพันธุ์ (Species approach) ในการอนุรักษ์นั้นมักให้ความสำคัญกับชนิดพันธุ์เป็นชนิดๆ ไป โดยเฉพาะชนิดพันธุ์ที่หากลดจำนวนลงหรือหายไปจะส่งผลกระทบอย่างด่นชัด ซึ่งในการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ใดชนิดพันธุ์หนึ่งนั้นจะมีประโยชน์ในการอนุรักษ์พื้นที่ที่เป็นถิ่นที่อยู่อาศัย และเป็นการอนุรักษ์สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในระบบนิเวศนั้น เช่น - ชนิดพันธุ์หายาก (Rare species) - ชนิดพันธุ์ใกล้สูญพันธุ์ (Endangered species) - ชนิดพันธุ์ที่มีความสำคัญในระบบนิเวศ (Keystone species) ดังนั้น นักอนุรักษาจึงเน้นการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์เหล่านี้เพื่อการอนุรักษ์พื้นที่และระบบนิเวศซึ่งในการเชิงการอนุรักษ์จะมีชนิดพันธุ์ที่มีการให้ความสำคัญแตกต่างกัน เช่น

1. ชนิดพันธุ์บ่งชี้ (Indicator species) สิ่งมีชีวิตที่สามารถบ่งบอกว่าระบบนิเวศมีการเปลี่ยนแปลง สิ่งมีชิวิตมีลักษณะที่ผิดปกติ ลดจำนวนลงหรือหายไปจากระบบนิเวศ เช่น แมลงน้ำที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีคุณภาพดีและหายไปหรือมีจำนวนที่ลดลงเมื่อคุณภาพน้ำต่ำลง ซึ่งลักษณะเช่นนี้ได้มีการนำมาประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพแหล่งน้ำได้

2. ชนิดพันธุ์ที่มีความสำคัญในระบบนิเวศ (Keystone species) สิ่งมีชีวิตที่มีความสำคัญในระบบนิเวศมากกว่าชนิดพันธุ์อื่น หากได้รับผลกระทบหรือหายไปจะทำให้โครงสร้างระบบนิเวศเสียหาย และเสียสภาวะสมดุลธรรมชาติ ชนิดพันธุ์เหล่านี้ไม่จำเป็นต้องมีปริมาณมากในระบบนิเวศ เช่น ดาวทะเลในระบบนิเวศชายฝั่งทะเลบางแห่ง ถ้าสูญหายไปจะมีผลต่อสมดุลธรรมชาติของระบบ

3. ชนิดพันธุ์ดีเด่น หรือชนิดพันธุ์ตัวนำ (Flagship species) สิ่งมีชีวิตที่มนุษย์ให้ความสนใจเนื่องจาก มีความสำคัญทางจิตใจ ทางวัฒนธรรม หรือการท่องเที่ยว เช่น แพนด้า โคลา ช้าง และมังกรโคโมโด เป็นต้น - มังกรโคโมโด หรือ Komodo dragon Varanus komodoensis ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ที่พบเฉพาะในประเทศอินโดนีเซีย โดยลักษณะมีความสำคัญต่อการอนุรักษ์หลายประการคือ เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่ใหญ่ที่สุดในโลกปัจจุบัน (Distinctiveness) พบเฉพาะบนเกาะขนาดเล็ก ทำให้เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ (Endangerment) มีประชาชนให้ความสนใจในเชิงการท่องเที่ยว (Utility) ดังนั้น จึงให้ความสำคัญในการอนุรักษ์มาก โดยการอนุรักษ์หมู่เกาะอินโดนีเซียที่เป็นที่อยู่ของสัตว์ชนิดนี้ คือ Komodo National Park นอกจากนี้องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO) ยังให้อุทยานแห่งชาตินี้เป็นมรดกโลก (World Heritage site)

4. ชนิดพันธุ์ให้ความคุ้มครอง (Umbrella species) สิ่งมีชีวิตที่เมื่อได้รับการอนุรักษ์แล้วจะช่วยในการปกป้องให้ความคุ้มครองและอนุรักษ์ชนิดพันธุ์อื่นๆและระบบนิเวศด้วย เช่น เสือโคร่งที่มีพื้นที่ในการหากินกว้างหากมีการอนุรักษ์จะเป็นการอนุรักษ์สัตว์ชนิดอื่นด้วย เช่น กระทิงที่อาศัยในพื้นที่เดียวกัน แต่มีพื้นที่หาอาหารแคบกว่าไปด้วย

ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบระบบนิเวศ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น หรือที่เรียกว่า เอเลียนสปีชีส์ (Alien species) สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นในที่ที่แตกต่างจากพื้นที่การแพร่กระจายตามธรรมชาติ โดยสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภท ตามบทบาทที่มีผลต่อระบบนิเวศ คือ

บางชนิดอาจจะปรับตัวเข้ากันได้กับชนิดพันธุ์ที่มีอยู่เดิม 1. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ไม่รุกราน (Non-invasive alien species หรือ NIAS) จัดเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศโดยตรงบางชนิดไม่สามารถแข่งขันได้กับชนิดพันธุ์เดิมที่มีอยู่ และไม่สามารถมีชีวิตอยู่รอดได้ บางชนิดอาจจะปรับตัวเข้ากันได้กับชนิดพันธุ์ที่มีอยู่เดิม

2. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน (Invasive alien species หรือ IAS) เป็นชนิดที่แพร่พันธุ์ได้เร็ว และมีผลกระทบต่อระบบนิเวศ เนื่องจากชนิดพันธุ์ดังกล่าวนี้มีความสามารถในการปรับตัวแข่งขันได้ดี สามารถรุกรานและแทนที่พันธุ์พื้นเมืองเดิมที่มีอยู่ได้ และยังสามารถขัดขวางการเจริญของพันธุ์อื่นๆ พบว่าชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานนี้ กำลังแพร่ระบาดและส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบนิเวศ เช่น พืชอาหาร ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง พืชเส้นใย ได้แก่ ฝ้าย ปอสา ปอฝ้าย กลุ่มพืชเศรษฐกิจต่างๆ เช่น มันสำปะหลัง อ้อย ถั่วลิสง ยางพารา ตลอดจนไม้ผลต่างๆ เช่น สาลี่ แอปเปิ้ล บ๊วย ท้อ พลับ และพลัม เป็นต้น ซึ่งล้วนเป็นพืชที่นำเข้ามาทั้งสิ้น