นโยบายการลงทุน Employee’s Choice.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
Advertisements

Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
 2005 Thailand Securities Institute (TSI), The Stock Exchange of Thailand 1.
BUNCHEE TIPS BY AOODY FOR MM MEETING ON FEBUARY 17, 2014.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากรและการบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ธนาคารออมสิน.
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
1.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
1) จำนวนเงินใน Slip Carbon ไม่ตรงกับ ยอดเงินของโรงเรียน สาเหตุที่ยอดเงินใน Slip Carbon ไม่ตรง กับโรงเรียนเนื่องจาก  โรงเรียนชำระเงินสะสม 3% ที่ธนาคารไทย.
สัญญาก่อสร้าง.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทางการจัดตั้งและพัฒนา สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
บทที่ 13 นโยบายเงินปันผล (DIVIDENE POLICY)
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
การบริหารงานคลังสาธารณะ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 4 ต้นทุนของเงินทุน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ฉลาดใช้ฉลาดออม โดยพิทักษ์ สมาน ร.ร.เบญจมราชรังสฤษฎิ์2 สพม. เขต6.
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม
ภาพรวม PVD รัฐวิสาหกิจ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
27 , 30 ตุลาคม 2549 ธนาคารแห่งประเทศไทย
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการลงทุน Employee’s Choice

1. Employee’s Choice คือ อะไร

Employee’s choice เป็นหลักการที่เปิดโอกาสให้สมาชิก อดีต แต่เดิมนโยบายการลงทุนของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กำหนดสัดส่วนเงินลงทุนส่วนใหญ่ให้ไปลงทุน ในตราสารทางการเงินที่มีความมั่นคงสูง ซึ่งอาจเป็นข้อจำกัดและไม่ยืดหยุ่นตามลักษณะและความต้องการที่แท้จริงของสมาชิกกองทุน ปัจจุบัน กฎหมายเปิดโอกาสให้สมาชิกแต่ละคนมีโอกาสเลือกนโยบายการลงทุนที่เหมาะสมกับตัวเองได้ (Employee’s Choice หรือ สมาชิกเลือกลงทุน) โดยลูกจ้างสามารถเลือกนโยบายการลงทุน ทั้งด้านความเสี่ยงและผลตอบแทนที่ตนเองต้องการ Employee’s choice เป็นหลักการที่เปิดโอกาสให้สมาชิก กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ “เลือก” นโยบายการลงทุนที่เหมาะสมกับตนเองได้

ข้อดีสำหรับการจัดตั้ง Employee’s Choice เปิดโอกาสให้สมาชิกกองทุนสามารถเลือกประเภทการลงทุนและระดับความเสี่ยงที่รับ ได้เหมาะสม และ/หรือ ตรงตามวัตถุประสงค์ของตนเอง เพิ่มความยืดหยุ่นแก่สมาชิก โดยสามารถเปลี่ยนแผนการลงทุนได้ เปิดโอกาสให้สมาชิกกองทุนสามารถเลือกการลงทุนในลักษณะกระจายความเสี่ยง (Diversification) ในกองทุนที่มีแผนลงทุนที่หลากหลายมากขึ้น ส่งเสริมให้สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจ และมีความรับผิดชอบในการลงทุนของตนเองมากขึ้น

2. รู้จักตราสารเพื่อการลงทุน

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตราสารเพื่อการลงทุน ตราสารเพื่อการลงทุน ∆ ตราสารหนี้ (Debt Instruments) ตราสารทางการเงินที่ผู้ออกตราสารซึ่งเรียกว่าผู้กู้หรือลูกหนี้ มีข้อผูกพันทางกฎหมายว่าจะจ่ายผลตอบแทนในรูปของดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์อื่นตามข้อกำหนดในตราสารและเงินต้นให้แก่ผู้ซื้อซึ่งเรียกว่าผู้ให้กู้หรือเจ้าหนี้ เมื่อครบกำหนดที่ตกลงกันไว้ ∆ ตราสารทุน (Equity Instruments) ตราสารที่บริษัทออกให้แก่ผู้ถือ − เพื่อแสดงสิทธิของความเป็นเจ้าของกิจการนั้น − หากกิจการนั้นเติบโต ผู้ถือหุ้นก็จะได้รับผลประโยชน์เพิ่มมากขึ้น ตามสัดส่วน − หากกิจการนั้นถดถอย ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นก็จะลดลง − หากกิจการนั้นมีอันต้องเลิกล้ม กิจการต้องขายทรัพย์สินและชำระบัญชีคืนเงินให้แก่ เจ้าหนี้ก่อน หากมีเงินเหลือ จึงจะนำไปคืนให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นอันดับสุดท้ายต่อไป

ประเภทของตราสารหนี้ ผลตอบแทน ความเสี่ยง

ผลตอบแทนการลงทุนในตราสารหนี้ 1. ดอกเบี้ยรับ (Interest Received) ผู้ลงทุนจะได้รับดอกเบี้ยเป็นประจำตามจำนวนเงินที่คำนวณจากอัตราดอกเบี้ยที่ตราไว้ (coupon rate) บนตราสารหนี้ และตามกำหนดเวลาที่ระบุไว้ 2. ส่วนลดรับ (Discount Earned) เป็นรายได้ที่มีลักษณะคล้ายดอกเบี้ยรับกล่าวคือ ผู้ลงทุนหรือผู้ซื้อจะจ่ายเงินเพื่อซื้อตราสารในราคาที่ต่ำกว่ามูลค่าที่ตราไว้ และจะได้รับชำระเงินคืนเมื่อตราสารครบกำหนดด้วยมูลค่าที่ตราไว้ ตราสารประเภทนี้ส่วนใหญ่ จะมีอายุไม่เกิน 1 ปีเนื่องจากผู้ลงทุนหรือผู้ซื้อต้องการรับรายได้จากการลงทุนอย่างสม่ำเสมอ 3. กำไร (ขาดทุน) จากราคา (Capital Gain (loss) ได้แก่ เงินได้ที่เกิดขึ้นจากผลต่างของราคา

ผลตอบแทนการลงทุนในตราสารทุน เงินปันผล (Dividend) เป็นค่าตอบแทนที่บริษัทจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น ซึ่งมักเป็นการกระจายกำไร เมื่อบริษัทได้กำไรหรือส่วนเกิน บริษัทสามารถนำไปลงทุนในธุรกิจต่อ (เรียก กำไรสะสม) หรือสามารถจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นก็ได้ บริษัทอาจสงวนกำไรหรือส่วนเกินส่วนหนึ่ง และจ่ายส่วนที่เหลือเป็นเงินปันผล การจ่ายแก่ผู้ถือหุ้นอาจเป็นรูปเงินสด (มักเป็นการฝากเข้าบัญชีธนาคาร) หรือ หากบริษัทมีแผนนำเงินปันผลไปลงทุนต่อ ปริมาณค่าตอบแทนอาจจ่ายเป็นรูปหุ้นเพิ่มหรือการซื้อหุ้นคืนได้ กำไร (ขาดทุน) จากราคา (Capital gain/loss) ได้แก่ เงินได้ที่เกิดขึ้นจากผลต่างของราคา

× ความแตกต่าง ตราสารหนี้ ตราสารทุน สิทธิเรียกร้องเงินต้นก่อน √ ความแตกต่างระหว่างตราสารหนี้และตราสารทุน ความแตกต่าง ตราสารหนี้ ตราสารทุน สิทธิเรียกร้องเงินต้นก่อน √ × ความเป็นเจ้าของและสิทธิในการออกเสียง ผลตอบแทน สม่ำเสมอและแน่นอน มีอายุจำกัดของตราสาร

สำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 3. Employee’s Choice สำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (นโยบายปัจจุบัน / ทางเลือกแผนการลงทุน)

1. รูปแบบปัจจุบัน : Master Fund : 1 นโยบาย Employee’s Choice สำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ นโยบายปัจจุบัน 1. รูปแบบปัจจุบัน : Master Fund : 1 นโยบาย นายจ้าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ กองทุน กช.เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ ตราสารหนี้ นโยบายการลงทุน สมาชิก

ตัวอย่างรูปแบบการเลือกแผนการลงทุนของ K Master Pooled Fund 1. ตราสารหนี้ระยะสั้น ภาครัฐ สถาบันการเงิน 3. ผสม หุ้นไม่เกิน 10% 2. ตราสารหนี้ 5. ผสม หุ้นและ FIF ไม่เกิน 25% 4. ผสม หุ้นไม่เกิน 25% 6. ตราสารทุน 7. กองทุนรวมต่างประเทศ นโยบาย การลงทุน ตราสารหนี้ภาครัฐสถาบันการเงิน 100% (ระยะสั้น) อย่างน้อย 60% อย่างน้อย 55% อย่างน้อย 40% ไม่เกิน 15% ไม่เกิน 20% ตราสารหนี้ภาคเอกชน - ไม่เกิน 40% ไม่เกิน 30% ตราสารทุน ไม่เกิน 10% ไม่เกิน 25% ไม่เกิน 25% (FIF ไม่เกิน 10%) อย่างน้อย 80% กองทุนรวมต่างประเทศ อย่างน้อย 80% การลงทุนทางเลือก ไม่เกิน 5% ทางเลือก 1 – สมาชิก 1 ท่านเลือก 1 นโยบายการลงทุน / แผนการลงทุน 100% - ทางเลือก 2 – สมาชิกสามารถเลือผสมสัดส่วนตามความต้องการ 60% 40% 50% 30% 20% แผนการลงทุน 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 2.1 2.2

2. Employee’s Choice : Master Fund หลากหลายทางเลือก เพิ่มแผนการลงทุน นายจ้าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ กองทุน กช.เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ 1. ตราสารหนี้ระยะสั้น ภาครัฐ สถาบันการเงิน 3. ผสม หุ้นไม่เกิน 10% 2. ตราสารหนี้ 5. ผสม หุ้นและ FIF ไม่เกิน 25% 4. ผสม หุ้นไม่เกิน 25% 6. ตราสารทุน 7. กองทุนรวมต่างประเทศ นโยบาย การลงทุน ทางเลือก 1 – สมาชิก 1 ท่านเลือก 1 นโยบายการลงทุน / แผนการลงทุน 100% - 1 2 3 4 5 6 7

ผลตอบแทนกองทุนเฉลี่ย 10 ปี 2.22% ต่อปี ผลตอบแทนกองทุนเฉลี่ย 10 ปี สรุป ผลการดำเนินงานของนโยบายการลงทุนใน กช. เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ ณ 31 ตุลาคม 2561 เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน อายุเฉลี่ยไม่เกิน 1 ปี ผลตอบแทนกองทุนเฉลี่ย 10 ปี 2.22% ต่อปี 1. ตราสารหนี้ ระยะสั้น ภาครัฐ สถาบันการเงิน สินทรัพย์สุทธิ 11,300.67 ล้านบาท นายจ้าง 1,325 บริษัท ผลตอบแทนกองทุน ม.ค. - ต.ค. 61 = 0.69% 100% ลงทุนในตราสารประเภทเงินฝาก บัตรเงินฝาก ตั๋วแลกเงิน พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ เป็นต้นและอายุครบกำหนดเฉลี่ยของตราสารข้างต้นไม่เกิน 1 ปี ระดับความเสี่ยงต่ำ สูง เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน ตราสารหนี้ภาคเอกชน ผลตอบแทนกองทุนเฉลี่ย 10 ปี 2.67% ต่อปี 2. ตราสารหนี้ สินทรัพย์สุทธิ 14,673.34 ล้านบาท นายจ้าง 1,172 บริษัท ผลตอบแทนกองทุน ม.ค. - ต.ค. 61 = 0.55% ลงทุนในตราสารประเภทเงินฝาก บัตรเงินฝาก ตั๋วแลกเงิน พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ และหุ้นกู้เอกชน เป็นต้น ระดับความเสี่ยงต่ำ สูง

ผลตอบแทนกองทุนเฉลี่ย 7 ปี สรุป ผลการดำเนินงานของนโยบายการลงทุนใน กช. เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ ณ 31 ตุลาคม 2561 ตราสารทุน ตราสารหนี้ภาคเอกชน เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน สินทรัพย์ทางเลือก ผลตอบแทนกองทุนเฉลี่ย 7 ปี 3.11% ต่อปี 3. ผสม หุ้นไม่เกิน 10% (เริ่มบริหาร 1 ม.ค. 54) สินทรัพย์สุทธิ 5,469.17 ล้านบาท นายจ้าง 998 บริษัท ผลตอบแทนกองทุน ม.ค. - ต.ค. 61 = -0.12% ลงทุนในตราสารประเภทเงินฝาก บัตรเงินฝาก ตั๋วแลกเงิน พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ หุ้นกู้เอกชน หุ้นสามัญ และ หน่วยลงทุน ไม่เกิน 10% เป็นต้น ระดับความเสี่ยงต่ำ สูง 4. ผสม หุ้นไม่เกิน 25% สินทรัพย์สุทธิ 38,709.90 ล้านบาท นายจ้าง 1,761 บริษัท ผลตอบแทนกองทุน ม.ค. - ต.ค. 61 = -0.93% เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน ตราสารทุน ตราสารหนี้ ภาคเอกชน สินทรัพย์ทางเลือก ผลตอบแทนกองทุนเฉลี่ย 10 ปี 4.31% ต่อปี ลงทุนในตราสารประเภทเงินฝาก บัตรเงินฝาก ตั๋วแลกเงิน พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ หุ้นกู้เอกชน หุ้นสามัญ และ หน่วยลงทุน ไม่เกิน 25% เป็นต้น ระดับความเสี่ยงต่ำ สูง

เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน สรุป ผลการดำเนินงานของนโยบายการลงทุนใน กช. เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ ณ 31 ตุลาคม 2561 ตราสารทุน และ FIF เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน ตราสารหนี้ภาคเอกชน สินทรัพย์ทางเลือก ผลตอบแทนกองทุนเฉลี่ย 10 ปี 3.96% ต่อปี 5. ผสม หุ้น และ FIF ไม่เกิน 25% สินทรัพย์สุทธิ 1,950.19 ล้านบาท นายจ้าง 355 บริษัท ผลตอบแทนกองทุน ม.ค. - ต.ค. 61 = -0.93% ลงทุนในตราสารประเภทเงินฝาก บัตรเงินฝาก ตั๋วแลกเงิน พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ หุ้นกู้เอกชน หุ้นสามัญ หน่วยลงทุน และหน่วยลงทุนของ กองทุนรวมที่ลงทุนในต่างประเทศ ไม่เกิน 25% เป็นต้น ระดับความเสี่ยงต่ำ สูง สินทรัพย์ทางเลือก เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน ตราสารทุน ผลตอบแทนกองทุนเฉลี่ย 6 ปี 6 เดือน 9.31% ต่อปี 6. ตราสารทุน (เริ่มบริหาร 1 ก.ค. 54) สินทรัพย์สุทธิ 4,841.30 ล้านบาท นายจ้าง 380 บริษัท ผลตอบแทนกองทุน ม.ค. - ต.ค. 61 = -5.62% < 30% ลงทุนในหุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ์ หน่วยลงทุนในหุ้นสามัญ เป็นต้น ระดับความเสี่ยงต่ำ สูง 1 2 3 4 5   6

เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน สรุป ผลการดำเนินงานของนโยบายการลงทุนใน กช. เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ ณ 31 ตุลาคม 2561 7. ลงทุนในหน่วยลงทุน ที่มีนโยบายลงทุนในต่างประเทศ (เริ่มบริหาร 1 ต.ค. 2559) สินทรัพย์สุทธิ 29.11 ล้านบาท นายจ้าง 37 บริษัท ผลตอบแทนกองทุน ม.ค. - ต.ค. 61 = -6.94% เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน < 30% < 30% หน่วยลงทุน ที่มีนโยบายลงทุนในต่างประเทศ ผลการดำเนินงานในอดีตของกองทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต ผลการดำเนินงานในอดีตของกองทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต ลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่มีนโยบายลงทุนในต่างประเทศโดยเฉลี่ยในรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของนโยบายการลงทุน ระดับความเสี่ยงต่ำ สูง 1 2 3 4 5   6

การเปลี่ยนแปลงของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิต่อหน่วย ระยะเวลา 6 ปี 10 เดือน (2555 – ต.ค. 2561)

4. แนวทางในการตัดสินใจ เลือกแผนการลงทุน

ปัจจัยประกอบการพิจารณาการเลือกรูปแบบการลงทุน อายุ* ฐานะ และภาระการเงิน ความต้องการผลตอบแทนที่ต่างกัน ความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการลงทุน การยอมรับความเสี่ยงจากการลงทุน วัยเริ่มต้นทำงาน วัยกลางคน วัยเกษียณ อายุ* มีส่วนสำคัญในการกำหนดระดับความทนทานต่อความเสี่ยงในการลงทุนและระยะเวลาสำหรับลงทุน

วัยหนุ่มสาว (ช่วงอายุไม่เกิน 30 ปี) ควรลงทุนเชิงรุกในหุ้น ซึ่งมีโอกาสได้รับอัตราผลตอบแทนสูง และแบ่งเงินบางส่วนลงทุนในตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงน้อยกว่า เนื่องจาก มีช่วงเวลาในการออมนาน 30 - 40 ปี จึงสามารถลงทุนแบบเสี่ยงสูงเพื่อให้ได้อัตราผลตอบแทนสูงขึ้น และหากเกิดการขาดทุน ก็มีเวลาปรับเปลี่ยนรูปแบบการลงทุน

วัยกลางคน (ช่วงอายุ 30 - 50 ปี) ควรลงทุนแบบผสม เพื่อเป็นการกระจายการลงทุนในหลักทรัพย์ หลายประเภท โดยลงทุนทั้งหุ้นและตราสารหนี้ในสัดส่วนใกล้เคียงกัน เนื่องจาก มีช่วงเวลาในการออมเพียง 10 -30 ปี จึงควรแบ่งเงินลงทุนเพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่ แน่นอนส่วนหนึ่ง และลงทุนเพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่สูงขึ้นอีกส่วนหนึ่ง

วัยสูงอายุ (ช่วงอายุ 50 ปีขึ้นไป) ควรเน้นลงทุนในตราสารหนี้ ซึ่งมีความเสี่ยงน้อย และลงทุนส่วนน้อยในหุ้นเพื่อหวังผลกำไรบ้าง เนื่องจาก เป็นวัยใกล้เกษียณ เหลือเวลาในการออมสั้น จึงควรเน้นลงทุนเพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่สม่ำเสมอ

ออมเร็วกว่า ผลตอบแทนมากกว่า... จะออมต่อเดือนน้อยกว่า เป้าหมาย : 1 ล้านบาท เมื่ออายุ 60 ปี อัตราผลตอบแทน จากเงินออม / ลงทุน 8% 6% 4% 2% อายุเมื่อเริ่มออม / ลงทุน ระยะเวลา ออม / ลงทุน เงินออม / ลงทุนต่อเดือน 20 40 286.45 502.14 846.05 1,361.59 25 35 435.94 701.90 1,094.41 1,645.96 30 607.98 995.51 1,440.82 2,029.53 1,051.50 1,443.01 1,945.04 2,571.88 1,697.73 2,164.31 2,726.47 3,392.17 45 15 2,889.85 3,438.57 4,063.55 4,768.42 50 10 5,466.09 6,102.05 6,791.18 7,534.68 55 5 13,609.73 14,332.80 15,083.19 15,861.09 เริ่มออม / ลงทุนตั้งแต่ตอนอายุน้อยๆ เพื่อให้มีเงินสะสมมากพอ ที่จะดำเนินชีวิตในช่วงหลังเกษียณอายุได้อย่างสบายๆ ระยะเวลาและผลตอบแทนมีผลต่อจำนวนเงินออม/ลงทุนอย่างไร ตารางนี้จะแสดงให้เห็นว่าหากคุณเริ่มออม/ลงทุนตั้งแต่อายุน้อยๆ คุณก็จะมีระยะเวลาในการออมค่อนข้างนาน และจะใช้จำนวนเงินในการออม/ลงทุนต่อเดือนน้อย และยิ่งถ้าหากว่าคุณสามารถนำเงินไปออม/ลงทุน โดยได้รับอัตราผลตอบแทนสูงๆ คุณก็จะยิ่งใช้จำนวนเงินในการออม/ลงทุนต่อเดือนน้อยลงไปอีก ตัวอย่าง นาย A ตั้งเป้าหมายไว้ว่าเมื่ออายุ 60 ปี นาย A จะมีเงิน 1 ล้านบาท ในกรณีที่นาย A เริ่มออม/ลงทุนตั้งแต่อายุ 25 ปี ได้รับผลตอบแทนจากการออม/ลงทุน 2% ต่อปี นาย A จะใช้เงินในการออม/ลงทุนประมาณ 1,646 บาท ต่อเดือน แต่ถ้านาย A ได้รับผลตอบแทนจากการออม/ลงทุน 8% ต่อปี นาย A จะใช้เงินในการออม/ลงทุนประมาณ 436 บาท ต่อเดือน ในกรณีที่นาย A เริ่มออม/ลงทุนตอนอายุ 55 ปี ได้รับผลตอบแทนจากการออม/ลงทุน 2% ต่อปี นาย A จะใช้เงินในการออม/ลงทุนประมาณ 15,861 บาท ต่อเดือน แต่ถ้านาย A ได้รับผลตอบแทนจากการออม/ลงทุน 8% ต่อปี นาย A จะใช้เงินในการออม/ลงทุนประมาณ 13,610 บาท ต่อเดือน

ต้องหาวิธี “เพิ่มผลตอบแทนจากเงินออม PVD ผ่าน Employee’s Choice” ถ้าเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่คาดว่าจะได้รับตอนเกษียณ ไม่เพียงพอ กับความต้องการใช้เงินหลังเกษียณ ต้องหาวิธี “เพิ่มผลตอบแทนจากเงินออม PVD ผ่าน Employee’s Choice” และ “ออมเงินเพิ่ม” เป็น Additional Retirement Fund ผ่านตราสารทางการเงินประเภทต่างๆ เช่น RMF LTF หุ้น ฯลฯ

รู้จักนโยบายการลงทุน และแผนการลงทน สรุปแนวทางการตัดสินใจเลือกแผนการลงทุน รู้จักตัวเอง รู้จักนโยบายการลงทุน และแผนการลงทน ตัดสินใจภายใต้ระดับการยอมรับความเสี่ยงตัวเอง “ แบบทดสอบความเสี่ยง” ติดตามอย่างเข้าใจ