มุมป๋วย เพื่ออุษาคเนย์ และอาเซียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
Advertisements

นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
งานบริการการศึกษา.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ชื่อ เด็กหญิง สุนิสา อาสากิจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/11 เลขที่45
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
สมุทรปราการ นายวิญญู หมั่นการ นายนิพนธ์ เนยเมืองปัก
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สาระที่ สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน มาตรฐาน ส เข้าใจระบบและสถาบันทาง เศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็น ของการร่วมมือกัน ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
Ubonratchathani Provincial Public Health Office
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
ผู้วิจัย เด็กชาย เทพฤทธิ์ มาลา ดาษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/10 เลขที่ 10.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อการบริการของ ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Expectation and.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
โรงเรียนกับชุมชน.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เครื่องมือเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
การบันทึกแบบสอบถามผู้ผ่านการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน พ. ศ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบริหารจัดการหนังสือประเภทรายปีด้วย กระบวนการ Pre-Cat
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนของอาเซียน (CCI) ครั้งที่ ๖๔
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
SMS News Distribute Service
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดการความรู้ Knowledge Management
นางสาวรตยา พนมวัน ณ อยุธยา นางสาววิไลลักษณ์ ดวงบุปผา
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มุมป๋วย เพื่ออุษาคเนย์ และอาเซียน Puey's corner for South-East Asia and ASEAN โดย นายคชาธร ขาว เรือง

พ.ศ. 2556 หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2556 หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งมุมป๋วย เพื่ออุษาคเนย์และอาเซียน (Puey's corner for South-East Asia and ASEAN) นิทรรศการประวัติของศาสตราจารย์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เจ้าของบทความชิ้นสำคัญ "จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน” กล่าวถึงสิทธิและสวัสดิการที่ประชาชน ทุกคน ควรได้รับอย่างเสมอภาค ตั้งแต่เกิด จนกระทั่งเสียชีวิต รวบรวมและจัดแบ่งทรัพยากรสารสนเทศ ทางด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กว่า 1,467 รายการ ภายใต้รูปแบบภูมิภาค ศึกษา

วัตถุประสงค์ สนับสนุนการศึกษาวิจัยและ พัฒนา องค์ความรู้ด้านเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ 2. อำนวยความสะดวกในการใช้ ทรัพยากร สารสนเทศด้านเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน วางแผนการดำเนินงาน เกิดจากการระดมสมองของ ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน คือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตร ศิริ (ผู้ก่อตั้งโครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) นางศรีจันทร์ จันทร์ชีวะ (ผู้อำนวยการหอสมุด) นางกาญจนาภรณ์ จิตต์สง่า (หัวหน้าหอสมุด ปรีดี พนมยงค์) “…เกิดแนวคิดรวบรวมหนังสือด้าน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาจัดเก็บไว้ที่มุมป๋วยฯ เพื่ออำนวย ความสะดวกแก่ผู้สนใจ ในรูปแบบภูมิภาคศึกษา...”

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน สำรวจและคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ พิจารณาจากหัวเรื่อง (Subject Heading) ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ - กลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขง - กัมพูชา - บรูไน - ประชาคมอาเซียน - พม่า - ฟิลิปปินส์ - มาเลเซีย - ลาว - เวียดนาม - สิงคโปร์ - อินโดนีเซีย - เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน 1. สำรวจและคัดเลือกทรัพยากรฯ กำหนด Collection code เป็น Puey Ungphakorn Collection Shelving location เป็น Puey Ungphakorn Corner

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน หน้าจอ OPAC แสดงข้อมูลว่าหนังสือถูกจัดเรียงไว้ที่มุมป๋วย เพื่ออุษาคเนย์และอาเซียน

2. จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศ ติดแถบสัญลักษณ์สำหรับ มุมป๋วย เพื่ออุษาคเนย์และ อาเซียน เป็นแถบสีส้ม เพื่อความสะดวกในคัดแยก หนังสือกลับมาจัดเรียงเข้า ในมุมป๋วยฯ

2. จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศ กำหนดและติดแถบ สัญลักษณ์ เพื่อแบ่ง ทรัพยากรออกตาม หัวเรื่อง (Subject Heading)

3. จัดเรียงบนชั้นหนังสือโดยแยกตามกลุ่มหัวเรื่อง (Subject Heading) หลังติดแถบสัญลักษณ์แล้ว ทรัพยากร สารสนเทศจะเรียงแยกตาม กลุ่ม หัวเรื่อง (Subject Heading) ที่กำหนดไว้ และภายใต้หัวเรื่อง จะถูกจัดเรียง ตามเลขเรียกหนังสือ (Call Number) ตามวิธีการจัดเรียงของ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification)

4. สำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บริการ สำรวจความ คิดเห็นของผู้ใช้บริการ เพื่อ นำความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะ ไปสู่การปรับปรุงและ พัฒนาการจัดเรียง ทรัพยากรสารสนเทศใน มุมป๋วยฯ ให้ตรงตามความ ต้องการของผู้ใช้บริการมาก ขึ้น

ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 94 175 58 394 192 253 17 46 78 20 140

หนังสือยังมีเนื้อหาที่ล้าสมัยอยากให้สับเปลี่ยนหนังสือใหม่ ๆ เข้ามาเพิ่มในมุมนี้มากขึ้น” เสียงสะท้อนจากผู้ใช้บริการ

เสียงสะท้อนจากผู้ใช้บริการ หาหนังสือที่ตนต้องการได้ยาก เนื่องจากป้ายบอกหัวเรื่องที่แบ่งตามภูมิภาคศึกษาแสดงไว้ไม่ชัดเจน ทำให้ไม่ทราบว่าประเทศที่ตนต้องการอยู่ส่วนไหนของมุมป๋วยฯ

ผู้ใช้บริการส่วนหนึ่งที่ค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมของหอสมุดฯ ที่ไม่ได้มุ่งเป้ามาที่มุมป๋วยฯ ตั้งแต่แรก เกิดความสับสนในการค้นหาหนังสือ เนื่องจากคิดว่าหนังสือที่ตนต้องการ ถูกจัดเรียงอยู่ร่วมกับหนังสือทั่วไป

การนำไปใช้ประโยชน์ : ประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการ การนำไปใช้ประโยชน์ : ประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการ ผู้ใช้บริการเกิดความสะดวกและ ประหยัดเวลา ในการค้นหาหนังสือที่จัดเรียงใน รูปแบบ ภูมิภาคศึกษา (Area Studies) หากต้องการศึกษาเกี่ยวกับเขตพื้นที่ ใด ก็สามารถค้นหาที่กลุ่มประเทศนั้นใน มุมป๋วยฯ ได้ทันที

การนำไปใช้ประโยชน์ : ประโยชน์ต่อหอสมุดฯ สร้างความสะดวกการจัดเรียง หนังสือ ให้กับผู้ปฏิบัติงาน เนื่องจาก .............................. มีแถบสีพิเศษ เพื่อแยกหนังสือใน มุมป๋วยฯ ออกจากชั้น หนังสือปกติ .............................. เพื่อนำมาจัดเรียงไว้ในมุมป๋วยฯ ได้ทันที โดยไม่ต้องค้นข้อมูลผ่าน ฐานข้อมูล บรรณานุกรม KOHA ก่อน... เป็นแนวทางพัฒนา วิธีจัดเรียงและการ ให้บริการทรัพยากร สารสนเทศลักษณะพิเศษ อื่น ๆ ภายในหอสมุด เป็นแนวทางจัดหา ทรัพยากรฯ ด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพิ่มเติม ในหัวเรื่องที่ยังมีปริมาณ หนังสือน้อย

THANK YOU คชาธร ขาวเรือง 02-613-3539 kktoon@tu.ac.th