บทที่ 13 จริยธรรมทางการตลาดและ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
ที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หลักธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล
กลุ่มเกษตรกร.
หลักการตลาดสมัยใหม่ (Principles of New Modern Marketing) )
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปการตลาดระดับโลก
(The Marketing Information Gathering)
Marketing.
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
Supply Chain Management
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 13 จริยธรรมทางการตลาดและ January 15, 2016 บทที่ 13 จริยธรรมทางการตลาดและ ความรับผิดชอบต่อสังคม Asst.Prof.Dr/Pattana Sirichotpundit, Ph.D. วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202) Credit : ผศ.ดร พัฒนา ศิริโชติบัณฑิต Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม Credit : ผศ.ดร.พัฒนา ศิริโชติบัณฑิต, Ph.D. Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม จริยธรรมกับการตลาด (Ethics and Marketing) จริยธรรมกับผู้บริโภค (Ethics and the Consumer) ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ (Corporate Social Responsibility) ความรับผิดชอบต่อสังคมของการตลาด (Marketing Social Responsibility) Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม จริยธรรมกับการตลาด (Ethics and Marketing) ความหมายจริยธรรม (Meaning of Ethics) การทำผิดด้านจริยธรรมการตลาด (Faults of Marketing Ethics) พฤติกรรมด้านจริยธรรม (Ethical Behavior) เหตุผลการแสดงพฤติกรรมจริยธรรม (Reasons for Ethical Behavior) การตัดสินใจด้านจริยธรรม (Making Ethical Decisions) การพัฒนาแนวทางเพื่อนำจริยธรรมมาใช้ (Developing Ethical Guideline) Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม จริยธรรมกับการตลาด (Ethics and Marketing) ความหมายจริยธรรม (Meaning of Ethics) เกี่ยวข้องกับมาตรฐานแห่งศีลธรรม (moral standard) และความคาดหวังในการแสดงพฤติกรรมทางสังคม (Kurtz, 2008, p.24) การศึกษาถึงศีลธรรมที่จะนำมาใช้ปฏิบัติและทำกิจกรรมต่างๆ ว่ามีความสำคัญในทางที่ถูกหรือผิด (Fill, 2006, p.90) หลักแห่งศีลธรรม (moral principles) หรือค่านิยม (value) ที่เน้นตัวควบคุมการกระทำของบุคคลหรือกลุ่มคนที่แสดงออกด้านพฤติกรรม มุมมองหลักจริยธรรม ได้แก่ ผลประโยชน์นิยม (utilitarianism) ความยุติธรรมและความซื่อสัตย์ (justice and fairness) และเป็นสิทธิส่วนบุคคล (personal rights) Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม จริยธรรมกับการตลาด (Ethics and Marketing) การทำผิดด้านจริยธรรมการตลาด (Faults of Marketing Ethics) โดยภาพรวม (Over All) ประเด็นด้านผลิตภัณฑ์ (Product Issues) ประเด็นด้านราคา (Price Issues) ประเด็นการจัดจำหน่าย (Distribution Issues) ประเด็นการส่งเสริมการตลาด (Promotion Issues) Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม จริยธรรมกับการตลาด (Ethics and Marketing) พฤติกรรมด้านจริยธรรม (Ethical Behavior) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการแสดงพฤติกรรมด้านจริยธรรม ได้แก่ บุคคล องค์กร และสิ่งแวดล้อม การกระทำการตัดสินใจใดๆ ด้านจริยธรรมต้องอยู่ภายใต้หลักของกฎหมายและจริยธรรม หลักกฎหมาย vs. หลักจริยธรรม การกำหนดสิ่งที่ยึดถือและยึดมั่น (credo) สามารถนำมาใช้ในการบริหารการตลาดและองค์กรธุรกิจเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาด้านจริยธรรมได้ ยกตัวอย่างเช่น เราจะอุทิศการส่งมอบบริการแก่ลูกค้าที่มีคุณภาพสูงสุดด้วยความรักความอบอุ่น เป็นมิตรแท้ เคารพศักดิ์ศรีส่วนบุคคล และมีจิตวิญญาณของบริษัท” (Southwest Airlines, 2012) Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม จริยธรรมกับการตลาด (Ethics and Marketing) เหตุผลการแสดงพฤติกรรมจริยธรรม (Reasons for Ethical Behavior) ช่วยเพิ่มความมั่นใจสาธารณชนที่มีต่อการตลาด (Increasing Public Confidence in Marketing) หลีกเลี่ยงการเพิ่มข้อกฎหมายและกฎระเบียบของภาครัฐบาล (Avoiding Increases in Government Regulation) รักษาไว้ซึ่งอำนาจที่ได้รับจากสังคม (Retaining the Power Granted by Society) ป้องกันภาพลักษณ์ที่มีอยู่ขององค์กร (Protecting the Image of the Organization) Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม จริยธรรมกับการตลาด (Ethics and Marketing) การตัดสินใจด้านจริยธรรม (Making Ethical Decisions) การพัฒนาแนวทางจริยธรรมมาใช้ (Developing Ethical Guideline) ทดสอบส่วนงานหรือพื้นที่ๆ ที่อาจทำให้เกิดความเสี่ยงด้านจริยธรรม นำค่านิยม/คุณค่า/หลักจริยธรรมที่จำเป็นและสำคัญต่อการทำงานมาใช้ปฏิบัติงานร่วมกับกฎระเบียบและข้อบังคับ กำหนดค่านิยม/คุณค่าที่สามารถช่วยแก้ปัญหาหลักจริยธรรมการตลาด/ธุรกิจที่เกิดขึ้นได้ พิจารณาค่านิยม/คุณค่าที่เชื่อมโยงองค์กรไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียองค์กร จัดทำหลักจริยธรรมการตลาดเพื่อสร้างความเข้าใจต่อการปฏิบัติงานได้ง่าย สื่อสารหลักจริยธรรมการตลาดอยู่บ่อยๆ ทบทวนหรือปรับปรุงหลักจริยธรรมการตลาดเป็นประจำทุกปี Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม จริยธรรมกับผู้บริโภค (Ethics and the Consumer) สิทธิของผู้บริโภค (Consumer Right) สิทธิ์ที่จะได้รับความปลอดภัย (The Right to Safety) สิทธิ์ที่จะได้รับการแจ้งข่าว (The Right to be Informed) สิทธิ์ที่จะเลือกซื้อและใช้ (The Right to Choose) สิทธิ์ที่จะได้รับฟังถึงการแก้ไขปัญหา (The Right to be Heard) สิทธิ์ที่จะได้รับความสุขจากสภาพแวดล้อมที่ดีและมีความสะอาด (The Right to Enjoy A Clean And Healthful Environment) สิทธิ์ของชนกลุ่มน้อยและคนยากจนต้องได้รับการปกป้องและให้ความใจ (The Right of The Poor and Other Minorities to Have Their Interest Protected) Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม จริยธรรมกับผู้บริโภค (Ethics and the Consumer) สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค หรือ สคบ. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ติดตามและสอดส่องพฤติการณ์ของผู้ประกอบการ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการศึกษาแก่ผู้บริโภคในทุกระดับการศึกษา ดำเนินการเผยแพร่วิชาการและให้ความรู้และการศึกษาแก่ผู้บริโภค ประสานงานกับส่วนราชการหรือหน่วยงานรัฐเพื่ออำนวยความสะดวกในการติดตามเรื่อง ปฏิบัติการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการได้มอบหมาย Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ (Corporate Social Responsibility) กรณีเห็นด้วย-ความรับผิดชอบต่อสังคม (The Case for Social Responsibility) กรณีไม่เห็น-ความรับผิดชอบต่อสังคม (The Case against Social Responsibility) Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ (Corporate Social Responsibility) กรณีเห็นด้วย-ความรับผิดชอบต่อสังคม ธุรกิจต้องทำงานเพื่อสังคมเพราะเศรษฐกิจจะได้มีความก้าวหน้าขึ้น การแก้ปัญหาของสังคมช่วยทำให้ธุรกิจมีกำไร จะได้หลีกเลี่ยงกฎระเบียบข้อบังคับทางกฎหมายจากภาครัฐ มีทรัพยากรที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจ Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ (Corporate Social Responsibility) กรณีไม่เห็น-ความรับผิดชอบต่อสังคม ธุรกิจควรจะเน้นที่เรื่องของธุรกิจเท่านั้น เป็นการเพิ่มอำนาจให้แก่หน่วยธุรกิจ ทำให้ผู้ถือหุ้นในองค์กรธุรกิจมีจำนวนลดน้อยลง การใช้ความพยายามทางธุรกิจจะไม่มีความต่อเนื่อง Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคมด้านการตลาด (Marketing Social Responsibility) ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการตลาด ความสามารถเชิงการแข่งขันที่ดี เพิ่มผลิตภาพการทำงาน 3. สร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียและสาธารณชน 4. หลีกเลี่ยงการออกกฎหมาย/ข้อบังคับของรัฐ 5. มีความห่วงใยในด้านสิ่งแวดล้อม 6. ป้องกันไม่ไห้เกิดอันตรายแก่ชุมชนท้องถิ่น 7. ปกป้องผู้ที่ทำงานให้กับองค์ธุรกิจ 8. สร้างการเติบโตด้านยอดขายและมูลค่าหุ้น Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019

จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม Q&A Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D. 4/9/2019