บทที่6 ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นหนังสือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ระดับชั้น ม.4
Advertisements

ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
เอกสารการบรรยายเรื่อง
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, วิทยาศาสตร์ทั่วไป, จิตวิทยา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การ ประถมศึกษา, ศิลปศึกษา,
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 4 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
เครื่องมือเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
แหล่งสารสนเทศ : การเลือกแหล่งสารสนเทศ
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
การอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
แอดมิชชั่น กลาง.
นาย พิศณุ นิลกลัด.
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่6 ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นหนังสือ บทที่6 ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นหนังสือ

บทที่6 ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นหนังสือ บทที่6 ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นหนังสือ การจัดหมู่หนังสือ หมายถึง การจัดหนังสือให้เป็นระบบโดยพิจารณาเนื้อหาสาระของหนังสือเป็นสำคัญ มีการกำหนด สัญลักษณ์แสดงเนื้อหาของหนังสือแต่ละประเภท ส่วนหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันจะมีสัญลักษณ์ใกล้เคียงกันวางอยู่ในตำแหน่ง ที่ไม่ไกลกัน ประโยชน์ของการจัดหมู่หนังสือ ทำให้หนังสือทุกเล่มในห้องสมุดมีสัญลักษณ์ และตำแหน่งที่แน่นอน ทำให้หนังสือที่มีเนื้อหาเดียวกัน รวมอยู่ในที่เดียวกัน ช่วยให้เจ้าหน้าที่ห้องสมุดจัดเก็บหนังสือคืนที่ได้ง่ายขึ้น ทำให้หนังสือที่มีเนื้อเรื่องสัมพันธ์กันอยู่ใกล้กัน ช่วยให้ทราบว่าห้องสมุดมีหนังสือในแต่ละสาขาวิชา แต่ละเรื่องมากน้อยเท่าใด

ระบบการจัดหมู่หนังสือ ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบทศนิยมดิวอี้ (DC or DDC)  เป็นระบบที่นิยม ใช้แพร่หลายในห้องสมุดขนาดเล็กหรือกลาง เช่นห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดประชาชน เป็นต้นโดยผู้คิดค้นระบบคือ นาย เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey ) ระบบนี้แบ่งสรรพวิทยาการในโลกออกเป็น 10 หมวดใหญ่ๆ โดยใช้ตัวเลขอารบิกเป็นสัญลักษณ์ ระบบการจัดหมู่หนังสือที่มีผู้คิดค้นขึ้นใช้ที่นิยมอย่างแพร่หลาย ได้แก่  ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification ; DC or DDC)  ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน(Library of Congress Classification ; LC ) 

Melvil Dewey เกิด 10 ธันวาคม 1851

ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบทศนิยมดิวอี้ (DC or DDC) แบ่งเป็น 10 หมวดใหญ่ๆ โดยใช้ตัวเลขอารบิกเป็นสัญลักษณ์ ดังนี้ 000 หนังสือที่จัดเข้าหมวดอื่น ไม่ได้ 100 ปรัชญา 200 ศาสนา 300 สังคมศาสตร์ 400 ภาษาศาสตร์ 500 วิทยาศาสตร์ 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 700 ศิลปะและการบันเทิง 800 วรรณคดี 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิประเทศ และการท่องเที่ยว

ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบทศนิยมดิวอี้ (DC or DDC) จากนั้นก็จะมีการแบ่งออกย่อยอีก 10 หมวดในครั้งที่ 2 โดยการใช้หลักสิบ และจะแบ่งย่อยอีกครั้งที่ 3 โดยใช้หลักหน่วย เป็นสัญลักษณ์ซึ่งจากนี้ถ้าต้องการระบุเนื้อหาของหนังสือให้ชี้เฉพาะยิ่งขึ้นก็ใช้วิธีเขียนจุดทศนิยมตั้งแต่ 1 ตำแหน่งขึ้นไป เช่น   300 สังคมศาสตร์ 370 สังคมศาสตร์ ด้านการศึกษา 371 โรงเรียน อาจแยกย่อยออกไปอีกเป็น 371.1 การสอนและบุคลากรในโรงเรียน 371.11 ลักษณะและคุณสมบัติของครู   

ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน ( LC ) เรียกสั้นๆ ว่า LC เป็นระบบที่นิยมใช้แพร่หลายในห้องสมุดขนาดใหญ่ที่มีหนังสือเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งหรือมี หนังสือทั่วไปทุกประเภทเป็นจำนวนมาก เช่น ห้องสมุดมหาวิทยาลัย เป็นต้น ระบบนี้แบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็น 20 หมวดโดยใช้สัญลักษณ์ เป็นแบบผสม คือ ตัวอักษรโรมันผสมกับตัวเลขอารบิก แต่อักษรโรมันที่ไม่ได้นำมาใช้มีอยู่ 5 ตัว คือ  I,O,W,X และ Y ซึ่งอักษร A - Z ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์จะแสดงเนื้อหาคือ หมวด A หนังสือที่เป็นความรู้ทั่วๆ ไป เช่น หนังสืออ้างอิง หนังสือพิมพ์ หมวด B หนังสือทางด้านปรัชญา ตรรกวิทยา อภิปรัชญา จิตวิทยา หมวด C หนังสือเกี่ยวกับประวัติอารยธรรม โบราณคดี จกหมายเหตุ พงศาวดาร หมวด D หนังสือประวัติศาสตร์ทั่วไป ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์ของประเทศต่างๆ (ประเทศไทยใช้ DS)

ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน ( LC ) หมวด E - F หนังสือประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวในทวีปอเมริกา หมวด G หนังสือภูมิศาสตร์ทั่วไป มนุษยวิทยา กีฬา และการบันเทิง หมวด H หนังสือสังคมศาสตร์ หมวด J หนังสือทางด้านการเมือง และรัฐศาสตร์ หมวด K หนังสือกฎหมาย หมวด L หนังสือเกี่ยวกับการศึกษา หมวด M หนังสือเกี่ยวกับการดนตรี หมวด N หนังสือด้านศิลปกรรม หมวด P หนังสือภาษาและวรรณคดี หมวด Q หนังสือวิทยาศาสตร์ทั่วไป หมวด R หนังสือแพทย์ศาสตร์ หมวด S หนังสือเกษตรศาสตร์ หมวด T หนังสือวิทยาศาสตร์ประยุกต์ หมวด U หนังสือยุทธศาสตร์ หมวด V หนังสือนาวิกศาสตร์ หมวด Z หนังสือบรรณานุกรม และบรรณารักษศาสตร์

ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน ( LC ) จากนั้นแบ่งออกเป็นหมวดย่อยโดยวิธีการเพิ่มอักษรตัวที่ 2 ต่อจากอักษรตัวแรก เช่น หมวด Q วิทยาศาสตร์ สามารถแบ่งย่อยโดย QA คณิตศาสตร์ QB ดาราศาสตร์ ทั้งนี้จะมีข้อยกเว้นสำหรับ หมวด E - F ที่ไม่มีการใช้อัษรตัวที่ 2 แต่จะมีการเพิ่มเลข อารบิกต่อท้ายอักษร

ระบบการจัดหมู่หนังสือ แบบอื่นๆ ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบห้องสมุดแพทย์แห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (National Library Medicine)   เรียกย่อๆ ว่า NLM เป็นระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือที่ใช้กับห้องสมุดทางการแพทย์ ใช้สัญลักษณ์เหมือนกับ ระบบ LC คืออักษรโรมันและเลขอารบิก ซึ่งห้องสมุดในประเทศไทยที่ใช้ระบบนี้ คือ หอสมุดศิริราชและห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบทศนิยมสากล (Universal Decimal Classification) เรียกย่อๆว่าระบบ UDC เป็นระบบที่นิยมใช้ในทวีปยุโรป และใช้เลขอารบิกเป็นสัญลักษณ์เช่นเดียวกับระบบDC แตกต่างตรง ที่ทศนิยมที่ใช้เพียงหลักเดียวแล้วใช้เครื่องหมายต่างๆ ประกอบ ในประเทศไทยมีที่ใช้ระบบนี้ที่ ห้องสมุดสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ 

การกำหนดเลขหมู่หนังสือในห้องสมุด 2. หนังสือที่ห้องสมุดไม่นิยมกำหนดเลขหมู่ หนังสือที่ใช้อ่านเพื่อความเพลิดเพลินมากกว่าเพื่อประโยชน์ เช่น นวนิยาย รวมเรื่องสั้น และหนังสือสำหรับเด็ก ห้องสมุดจะไม่กำหนดเลขหมู่ให้ แต่จะใช้สัญลักษณ์ง่ายๆ แทนโดยใช้อักษรย่อ เพื่อบอกประเภทของหนังสือนั้นๆ เช่น นวนิยาย ภาษาไทยใช้ น หรือ นว ภาษาอังกฤษใช้ FIC (fanfiction) ซึ่งหนังสือเหล่านี้จะเรียงบนชั้นแยกจากหนังสือทั่วไป

เลขเรียกหนังสือ ( Call Number) เลขเรียกหนังสือ คือ สัญลักษณ์ที่ห้องสมุดกำหนดให้กับหนังสือทุกเล่มในห้องสมุด ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน 1. เลขหมู่หนังสือ (Class number ) แสดงเนื้อหาหรือวิธีประพันธ์ของหนังสือ 2. เลขผู้แต่ง (Author number ) ประกอบด้วยอักษรและตัวเลข 3. อักษรชื่อเรื่อง (Work mark) เป็นพยัญชนะตัวแรกของหนังสือ

การเรียงหนังสือบนชั้น การเรียงหนังสือบนชั้น คือ การเรียงหนังสือขึ้นชั้นโดยพิจารณาจากเลขเรียกหนังสือจากซ้ายไปขวา และจากบนลงล่าง หนังสือที่มีเลขหมู่ซ้ำกัน การจัดลำดับก่อนหลัง พิจารณาจากอักษรผู้แต่ง หนังสือที่มีเลขหมู่ซ้ำกัน เลขผู้แต่งเหมือนกัน พิจารณา จากอักษรชื่อเรื่อง เพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นหาหนังสือที่ต้องการได้โดยง่าย

ชั้นวางหนังสือแต่ละหลัง ต้องบอกเลขเรียกหนังสือที่เก็บไว้บนชั้นตามลำดับ 0-99 หรือ A-Z

ใช้ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือแบบใด ให้ยกตัวอย่างหนังสือมา 3 เล่ม ใบงาน ให้นักศึกษาไปค้นหาหนังสือในห้องสมุดวิทยาลัย และดูเลขหมู่หนังสือ เพื่อให้ได้คำตอบดังนี้ ใช้ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือแบบใด ให้ยกตัวอย่างหนังสือมา 3 เล่ม ให้แปลความหมายของเลขหมู่หนังสือที่ได้ค้นหา

The End