รายงานสรุปผลการพัฒนา คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ผศ.ดร.นิติพงษ์ ส่งศรีโรจน์ คณบดีคณะการบัญชีและการจัดการ วันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๖๒
หน่วยงานมีการดำเนินการตามประเด็นข้อเสนอแนะจากการประเมิน ของคณะกรรมการประเมินฯ ปีที่ผ่านมา (2560) ดังนี้ ดำเนินการแล้ว การดำเนินการต่อเนื่องจากปีที่แล้ว คุณภาพหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน การสนับสนุน บช.บ. (3.41) ขึ้นทะเบียน TQR มาตรการส่งเสริมให้อาจารย์ ยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ หลักสูตรผ่านองค์ประกอบที่ ๑ การพัฒนาหลักสูตรสอดคล้องตามความต้องการและทิศทางการพัฒนาประเทศ การส่งเสริมให้มีตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น แผนการประหยัดค่าใช้จ่าย/เพิ่มรายได้ การส่งเสริมและพัฒนานิสิตให้มีความรู้ และทักษะภาษาอังกฤษ การส่งเสริมให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษามีผลงานตีพิมพ์ในระดับนานาชาติเพิ่มขึ้น แผนรองรับนโยบาย Thailand 4.0 การสนับสนุนอาจารย์ให้มีวุฒิ ป.เอก มาตรการให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา สำเร็จการศึกษาตามกำหนด โครงการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก/ ส่งเสริม กำกับ อาจารย์ทำงานวิจัยเพิ่ม การจัดทำหลักสูตรระยะสั้น มาตรการส่งเสริมให้อาจารย์มีผลงานตีพิมพ์นานาชาติที่ได้มาตรฐาน การสร้างความโดดเด่นของคณะ/หลักสูตร แผนและการดำเนินการ Green University การจัดทำบริษัทจำลอง 2
กำลังดำเนินการในปีนี้ (บรรจุในแผนกลยุทธ์คณะ สัมมนาปรับแผนกลยุทธ์ เมื่อวันที่ 19-22 ธันวาคม 2561) มาตรการการรับนิสิตในแต่ละ หลักสูตรเป็นไปตามแผน การปรับปรุงหลักสูตรตามหลักการ Outcome-based Education การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เกี่ยวกับศิษย์เก่าอย่างชัดเจน/เป็นรูปธรรม บูรณาการองค์ความรู้ข้ามศาสตร์ สาขาวิชาชีพ การส่งเสริมสนับสนุนให้อาจารย์มีผลงานหนังสือ ตำรา บทความวิชาการ การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายเก่าและใหม่ เพื่อเปิดโอกาสให้คนมาเรียนมากขึ้น การเตรียมการ EdPEx แผนรองรับเมื่อนิสิตลดลง แล้วส่งผลต่องบประมาณ 3
สร้างมูลค่าให้ชุมชน/สังคม ผลลัพธ์ (Outcome) และผลกระทบ (Impact) ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานตามประเด็นข้อเสนอแนะจากการประเมินของคณะกรรมการประเมินฯ (Output) (Outcome) (Impact) บัณฑิตมีงานทำ 86.40% สร้างมูลค่าให้ชุมชน/สังคม การผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ (ความพึงพอใจผู้ใช้ 4.31/นิสิตได้รับรางวัล สร้างชื่อเสียงต่างๆ มากมาย) หลักสูตรมีคุณภาพ (18 หลักสูตร) คุณภาพอาจารย์ การบริการวิชาการ (20 โครงการ) คุณภาพผลงานวิชาการ (23.56%-->35.04%) งานวิจัย (21 เรื่อง) AUTO BUDDY Deafiness Care ผศ.รศ. 25.89% --> 35.48% (44 คน) ป.เอก 62.59% --> 67.96% จำนวนอาจารย์ 134 คน 4
การนำระบบบริหารคุณภาพ นวัตกรรมการบริหารในช่วงปีงบประมาณ ๒๕๖๑ การนำระบบบริหารคุณภาพ มาใช้อย่างต่อเนื่อง การนำ Job Rotation การนำระบบสารสนเทศมาใช้ในการบริหาร 5
เป้าหมายเชิงกลยุทธ์ การดำเนินการตามวิสัยทัศน์ คณะการบัญชีและการจัดการ “การเป็นคณะชั้นนำทางด้านบริหารธุรกิจระดับชาติ” 2561-2565 เป็นคณะชั้นนำทางด้านบริหารธุรกิจ 1 ใน 5 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2566-2570 เป็นคณะชั้นนำทางด้านบริหารธุรกิจ 1 ใน 5 ของประเทศ คณะการบัญชีฯ (4.5769) คณะศึกษาศาสตร์ (4.4391) คณะการท่องเที่ยวฯ (4.2032) คณะวัฒนธรรมฯ (4.2765) คณะมนุษยศาสตร์ฯ (4.6823) การบริหารยุทธศาสตร์ (กพร 2560) การบริหารยุทธศาสตร์ (กพร 2561) 1 คณะศึกษาศาสตร์ (4.5636) คณะการท่องเที่ยวฯ (4.5168) คณะการบัญชีฯ (4.2700) คณะมนุษยศาสตร์ฯ (4.2666) ปี 2559 เงินสะสมคณะ 77 ล้าน ปี 2560 เงินสะสมคณะ 112 ล้าน ปี 2561 เงินสะสมคณะ 131.5 ล้าน ปี 2561 รายรับคณะ 291 ล้าน หักให้ มมส 91 ล้าน รายรับจริงประมาณ 200 ล้าน 6 การรับรองมาตรฐานระดับชาติและนานาชาติ (ABEST21 EdPEx AMBA EPAS EQUIS AACSB) 2
การดำเนินการตามวิสัยทัศน์ คณะการบัญชีและการจัดการ 3 2018 2019 การสอน โดยรวม การวิจัย การอ้างอิง รายได้ (อุตฯ) นานาชาติ ชื่อสถาบัน อันดับโลก การสอน โดยรวม การวิจัย การอ้างอิง รายได้ (อุตฯ) นานาชาติ ชื่อสถาบัน อันดับโลก 6 6 8 7
การดำเนินการตามวิสัยทัศน์ คณะการบัญชีและการจัดการ 3 2018 2019 การสอน โดยรวม การวิจัย การอ้างอิง รายได้ (อุตฯ) นานาชาติ ชื่อสถาบัน อันดับโลก การสอน โดยรวม การวิจัย การอ้างอิง รายได้ (อุตฯ) นานาชาติ ชื่อสถาบัน อันดับโลก 5 5 7 8
การดำเนินการตามวิสัยทัศน์ คณะการบัญชีและการจัดการ 3 2018 2019 การสอน โดยรวม การวิจัย การอ้างอิง รายได้ (อุตฯ) นานาชาติ ชื่อสถาบัน อันดับโลก การสอน โดยรวม การวิจัย การอ้างอิง รายได้ (อุตฯ) นานาชาติ ชื่อสถาบัน อันดับโลก 4 5 7 7 10 9
แผนการรับนิสิต/แนวทางการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร/หลักสูตรระยะสั้น วิเคราะห์แผนการรับนิสิต (หลักสูตร ตรี 10 โท 6 เอก 4 รวม 20 หลักสูตร) เกณฑ์การประเมินประกันคุณภาพระดับหลักสูตร สอดคล้องกับตลาดแรงงานและสถานการณ์ปัจจุบัน/การบูรณาการหลายศาสตร์ /เน้นการปฏิบัติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๘ ความพร้อมด้านทรัพยากร /ความคุ้มค่า (เชิงปริมาณและคุณภาพ) /ผลการดำเนินการที่ผ่านมา โครงการการสร้างความสัมพันธ์อันดี กับอาจารย์แนะแนวและผู้ปกครอง การจัดทำแผนประชาสัมพันธ์เชิงรุก การแนะแนวและแนะนำหลักสูตร ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย Performance New S Curve: Innovation ปิด/ควบรวม/บูรณาการหลักสูตร/สร้างหลักสูตรใหม่ แนวโน้มปิด บช.บ. (ภาษาอังกฤษ) บธ.บ. (BIT) บธ.บ. (HRM) ปร.ด. (เศรษฐศาสตร์และการเงิน) รวม 4 หลักสูตร ปิดไปแล้ว บธ.บ. (การประกอบการ) บธ.บ. (e-com.) กจ.ม. บธ.ม. (BITM) รวม 4 หลักสูตร สร้างหลักสูตรระยะสั้น Credit Bank หลักสูตรที่มีความร่วมมือกับภาคเอกชน 10
นโยบายการลดพลังงานและการบริหารจัดการขยะ การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นส่วนหนึ่งในกลยุทธ์ขององค์กร สอดคล้องกับนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว นิสิตและบุคลากรมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง การสร้างจิตสำนึกที่ดีด้านสิ่งแวดล้อมแก่นิสิตและบุคลากรทุกคน ความมุ่งมั่นในการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001:2015 โครงการ say no to plastic Bag โครงการ MBS ลด คัด แยก ขยะต้นทาง และรวมพลังประหยัดพลังงานไฟฟ้า น้ำ
ภารกิจยังไม่ประสบความสำเร็จ ปัญหาหรืออุปสรรค แนวทางแก้ไข ๑. คณาจารย์มีภาระการสอนจำนวนมาก จำนวนนิสิตเกินเกณฑ์มาตรฐานของ สกอ. การปรับจำนวนนิสิตให้สอดคล้องกับจำนวนอาจารย์ และให้เป็นไปตามมาตรฐานของ สกอ. ๒. คุณภาพของผลงานวิชาการหรืองานสร้างสรรค์ของอาจารย์ประจำมีน้อย (35.04%) (โดยเฉพาะผลงานในระดับนานาชาติ) คณาจารย์มีภาระงานสอนจำนวนมากและขาดความเชี่ยวชาญในการผลิตผลงานวิชาการ การพัฒนาผลงานทางวิชาการ โดยผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชา และสนับสนุนงบประมาณการพัฒนา ผลงานทางวิชาการ การร่วมผลิตงานวิจัย กับนักวิจัยอาวุโสที่มีความเชี่ยวชาญ ในแต่ละสาขา ๓. อาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ยังมีจำนวนน้อย (35.48%) คณาจารย์มีภาระการสอนจำนวน มาก และขาดความเชี่ยวชาญใน ผลิตผลงานทางวิชาการในสาขา ที่ตนยื่นขอ การสนับสนุนทุนเพื่อผลิตผลงานทางวิชาการ และนำเข้าพิจารณาในการประเมินผลการปฏิบัติราชการในสัดส่วนคะแนนที่สูงขึ้น 12
ภารกิจยังไม่ประสบความสำเร็จ ปัญหาหรืออุปสรรค แนวทางแก้ไข ๔. คุณภาพของผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่มีน้อย (69.52%>60%) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ขาดความเชี่ยวชาญและอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการมีน้อย การเสริมสร้างความเชี่ยวชาญอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และจัดสรรอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีศักยภาพสูงแก่นิสิต และการคัดเลือกนิสิตใหม่ต้องมุ่งเน้นคุณภาพที่สูงขึ้น ๕. ทักษะภาษาอังกฤษของนิสิต อยู่ในระดับต่ำ (24.37%>19.13%) นิสิตมีพื้นฐานทักษะทางภาษาจาก การศึกษาขั้นพื้นฐานที่อยู่ในระดับ ต่ำ การเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ นอกห้องเรียน เช่น การจัดโครงการทดสอบ ภาษาอังกฤษ TOEIC โครงการนิสิตแลกเปลี่ยน การจัดติวให้นิสิตตลอดปี ประมาณ 2 รอบ/ปี 13
ข้อเสนอแนะและ/หรือประเด็นสำคัญที่ต้องการความช่วยเหลือและ/หรือเสนอฝากต่อคณะกรรมการประเมินฯ และมหาวิทยาลัย การออกกฎเกณฑ์เงื่อนไขระยะเวลาการยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการที่มีผลต่อการต่อสัญญาจ้าง การเพิ่มกรอบอัตรากำลังของคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ ลูกจ้างชั่วคราวภายใต้กรอบงบประมาณของคณะ การเพิ่มสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนิสิต ได้แก่ อาคารเรียน ห้องสมุดคณะ โดยใช้งบประมาณของคณะ การแก้ไข/ปรับปรุง ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อกฎหมายที่มีความยืดหยุ่นสอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนไป 14
คณะกรรมการประเมินฯ ทุกท่าน ขอขอบพระคุณ คณะกรรมการประเมินฯ ทุกท่าน 15 15