การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ตัวชี้วัด 1 ร้อยละสะสมที่ลดลงของครัวเรือน ยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ AS-IS ปีที่ผ่านมา กิจกร รม ผู้ปฎิ บัติ กรอบ เวลา ผลลั พธ์ ปัจจัย สำเร็ จ ปัญห า.
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การประเมินผลการนำนโยบาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ไปปฏิบัติของ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผู้วิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักความรับผิดทางแพ่ง
การกำหนดตำแหน่งการพัฒนาของอำเภอ (Positioning)
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
1 สบช.. 2 เอกสารข้อมูล สถานการณ์ / ผลการ ดำเนินงานสบช. - สถานการณ์ - ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานสบช. - GAP ( อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต ) ความคิดเห็นผู้บริหาร.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์
การปกครองระบอบประชาธิปไตย
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
ร่าง ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ
ป.ย.ป. คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง เป็นส่วนที่ตั้งขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา.
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การจัดการความรู้ Knowledge Management
การดำเนินงานต่อไป.
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ รองผู้ว่าราชการจังหวัด สำนักนโยบายและแผน สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

การประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้ว่าราชการจังหวัด และรอง ผวจ. อดีต ปัจจุบัน อนาคต บำบัดทุกข์ บำรุงสุข แนวโน้ม นักบริหาร (Smart Administrative Leader) ความ เปลี่ยนแปลง นักปกครอง (Smart Governor) นักยุทธศาสตร์ (Smart Strategic Leader) บทบาท เด่น การบังคับบัญชาส่วนราชการ การแก้ไขปัญหา การปกครอง/สร้าง ความสงบเรียบร้อย การเข้าถึงประชาชนในทุก พื้นที่ การบริหารอย่างมี ประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลสูงสุด วิสัยทัศน์ (40%) - การคิดอย่างมีวิสัยทัศน์ การวางแผน/ กำหนดยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนนโยบาย การติดตามและประเมินผล ทักษะ (30%) การบูรณาการ การประสานงาน ภาวะผู้นำ การบริหารแบบมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ ธรรมาภิบาล (30%) นิติธรรม คุณธรรม ความโปร่งใส การมีส่วนร่วม ความรับผิดชอบ ความคุ้มค่า แนวคิด การ ประเมิน (จุดมุ่งเน้น) มุ่งเน้น ความรู้ (Knowledge) 1. ภาวะผู้นำ (Leadership) 2. ประวัติการรับราชการ 3. ความรอบรู้ในงาน 4. การทำงานบรรลุผลสำเร็จ 5. การประเมินเพื่อใช้ประกอบ การแต่งตั้ง มุ่งเน้น ทักษะการบริหาร (Managerial Skills) 1.การบริหารจัดการสมัยใหม่ (New Public Management) (นักบริหารระดับสูงของ ก.พ.) 2. TQM (ก.พ.ร.) 3. การประเมินเพื่อใช้ประกอบ การแต่งตั้ง - มุ่งเน้น วิสัยทัศน์ (Vision) - เน้น 3 มิติ คือ 1)การครองตน(คุณธรรม/ความประพฤติ) 2) การครองคน(ทักษะการบริหาร) 3)การครองงาน (การขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์และธรรมาภิบาล) - ยึดแนวทาง 1)Open Participation 2) Dynamic และ 3)การประเมินเพื่อการพัฒนาสมรรถนะและใช้ประกอบการแต่งตั้ง ลักษณะ การ ประเมิน 1. การประพฤติปฏิบัติ 2. ความรู้/ประสบการณ์/ผลงาน 3. ความสามารถใน การบริหาร (กว้าง) 4. ความเหมาะสมในการ เลื่อนระดับตำแหน่ง (อาวุโส ทางราชการ) 1. ภาวะผู้นำ 2. การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ 3.การมุ่งเน้นลูกค้าผู้รับบริการ 4.การวัดผลการวิเคราะห์และ การจัดการความรู้ 5. การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ 6. การจัดการกระบวนงาน 7. ผลลัพธ์ในการดำเนินงาน (ก.พ.ร.) 8. ความเหมาะสมในการเลื่อนระดับตำแหน่ง (อาวุโสทางราชการ) 1. หลักความรู้ ความสามารถ และคุณธรรม 2. ความสามารถในการบริหารจัดการและบูรณาการ การ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เช่น ภาวะผู้นำ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การจัดการความรู้/ข้อมูลสารสนเทศ 3. ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามนโยบายรัฐบาล นโยบาย เร่งด่วนของกระทรวง ยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด 4. ความเหมาะสมในการเลื่อนระดับตำแหน่ง (อาวุโสทางราชการ) รูปแบบ การ ประเมิน - แบบประเมินผลการปฏิบัติ งานข้าราชการ สป.มท. 1.การประเมินของ ก.พ. 2.การประเมินศักยภาพ ผวจ.และ รอง ผวจ.ตามคำรับรองฯ ของ ก.พ.ร. 3.การประเมินผลงานและคุณลักษณะ 4.การสอบวิสัยทัศน์/ สัมภาษณ์โดย ปมท./ รองปมท. 1.การประเมินของ ก.พ. 2. การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ผวจ. และรอง ผวจ. ตาม คำรับรองฯของ ก.พ.ร. 3. การสอบวิสัยทัศน์/ สัมภาษณ์โดย ปมท./รอง ปมท. 4. การประเมินจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) 1. การประเมินสมรรถนะ (ก.พ. )และประเมินตนเอง (ก.พ.ร.) 2. การประเมินโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยกำหนดค่าน้ำหนัก คือ 1)ผู้บังคับบัญชา (ปมท./รอง ปมท./ ผต.มท.): 30% 2) ภาคราชการ (หน.ส่วนราชการสำคัญ/กบจ.) : 20% 3) ภาคเอกชน (กรอ./ นักธุรกิจ) : 20% 4) อปท.(นายก อบจ./ นายกเทศมนตรี) : 20% 5) ภาค ปชช. (พระ /NGO/ ปราชญ์ชาวบ้าน) : 10% วิธีการ ประเมิน ประเมินโดย ปมท. รอง ปมท. และผู้ตรวจราชการเขต 1. ประเมินสมรรถนะ 12 หมวด 12 ตัวชี้วัด (ก.พ.) 2. กลุ่มผู้ประเมินจากภาคราชการ ภาคเอกชน และภาค ปชช. กลุ่มละ 10 ราย (ปี 47-48) ปัจจุบันไม่ใช้ 3.ประเมินโดย รอง ปมท.และผต.มท.

ผวจ./ รองผวจ. ที่อยากเห็น (Smart Governor/ Administrative Leader/Strategic Leader มีคุณธรรม ธรรมาภิบาล ประชาชนรักใคร่ นักปกครอง (Smart Governor) นักบริหาร (Smart Administrative Leader) นักยุทธศาสตร์ (Smart Strategic Leader) มีวิสัยทัศน์ กว้างไกล ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ บรรลุผลสัมฤทธิ์ มีระบบ การทำงาน เป็นเลิศ ระบบการประเมินบุคคลและผลงานที่สามารถปฏิบัติได้ ระบบการประเมินที่ผู้ถูกประเมินยอมรับ (Acceptable) ระบบการประเมินที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ (High feasibility) ระบบการประเมินที่เกิดจากการมีส่วนร่วม (Participation) ระบบการประเมินที่มีพลวัตร (Dynamic) ระบบการประเมินที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะส่วนบุคคล (Tailor-made)

ขอบคุณ