การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ รองผู้ว่าราชการจังหวัด สำนักนโยบายและแผน สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
การประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้ว่าราชการจังหวัด และรอง ผวจ. อดีต ปัจจุบัน อนาคต บำบัดทุกข์ บำรุงสุข แนวโน้ม นักบริหาร (Smart Administrative Leader) ความ เปลี่ยนแปลง นักปกครอง (Smart Governor) นักยุทธศาสตร์ (Smart Strategic Leader) บทบาท เด่น การบังคับบัญชาส่วนราชการ การแก้ไขปัญหา การปกครอง/สร้าง ความสงบเรียบร้อย การเข้าถึงประชาชนในทุก พื้นที่ การบริหารอย่างมี ประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลสูงสุด วิสัยทัศน์ (40%) - การคิดอย่างมีวิสัยทัศน์ การวางแผน/ กำหนดยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนนโยบาย การติดตามและประเมินผล ทักษะ (30%) การบูรณาการ การประสานงาน ภาวะผู้นำ การบริหารแบบมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ ธรรมาภิบาล (30%) นิติธรรม คุณธรรม ความโปร่งใส การมีส่วนร่วม ความรับผิดชอบ ความคุ้มค่า แนวคิด การ ประเมิน (จุดมุ่งเน้น) มุ่งเน้น ความรู้ (Knowledge) 1. ภาวะผู้นำ (Leadership) 2. ประวัติการรับราชการ 3. ความรอบรู้ในงาน 4. การทำงานบรรลุผลสำเร็จ 5. การประเมินเพื่อใช้ประกอบ การแต่งตั้ง มุ่งเน้น ทักษะการบริหาร (Managerial Skills) 1.การบริหารจัดการสมัยใหม่ (New Public Management) (นักบริหารระดับสูงของ ก.พ.) 2. TQM (ก.พ.ร.) 3. การประเมินเพื่อใช้ประกอบ การแต่งตั้ง - มุ่งเน้น วิสัยทัศน์ (Vision) - เน้น 3 มิติ คือ 1)การครองตน(คุณธรรม/ความประพฤติ) 2) การครองคน(ทักษะการบริหาร) 3)การครองงาน (การขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์และธรรมาภิบาล) - ยึดแนวทาง 1)Open Participation 2) Dynamic และ 3)การประเมินเพื่อการพัฒนาสมรรถนะและใช้ประกอบการแต่งตั้ง ลักษณะ การ ประเมิน 1. การประพฤติปฏิบัติ 2. ความรู้/ประสบการณ์/ผลงาน 3. ความสามารถใน การบริหาร (กว้าง) 4. ความเหมาะสมในการ เลื่อนระดับตำแหน่ง (อาวุโส ทางราชการ) 1. ภาวะผู้นำ 2. การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ 3.การมุ่งเน้นลูกค้าผู้รับบริการ 4.การวัดผลการวิเคราะห์และ การจัดการความรู้ 5. การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ 6. การจัดการกระบวนงาน 7. ผลลัพธ์ในการดำเนินงาน (ก.พ.ร.) 8. ความเหมาะสมในการเลื่อนระดับตำแหน่ง (อาวุโสทางราชการ) 1. หลักความรู้ ความสามารถ และคุณธรรม 2. ความสามารถในการบริหารจัดการและบูรณาการ การ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เช่น ภาวะผู้นำ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การจัดการความรู้/ข้อมูลสารสนเทศ 3. ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามนโยบายรัฐบาล นโยบาย เร่งด่วนของกระทรวง ยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด 4. ความเหมาะสมในการเลื่อนระดับตำแหน่ง (อาวุโสทางราชการ) รูปแบบ การ ประเมิน - แบบประเมินผลการปฏิบัติ งานข้าราชการ สป.มท. 1.การประเมินของ ก.พ. 2.การประเมินศักยภาพ ผวจ.และ รอง ผวจ.ตามคำรับรองฯ ของ ก.พ.ร. 3.การประเมินผลงานและคุณลักษณะ 4.การสอบวิสัยทัศน์/ สัมภาษณ์โดย ปมท./ รองปมท. 1.การประเมินของ ก.พ. 2. การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ผวจ. และรอง ผวจ. ตาม คำรับรองฯของ ก.พ.ร. 3. การสอบวิสัยทัศน์/ สัมภาษณ์โดย ปมท./รอง ปมท. 4. การประเมินจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) 1. การประเมินสมรรถนะ (ก.พ. )และประเมินตนเอง (ก.พ.ร.) 2. การประเมินโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยกำหนดค่าน้ำหนัก คือ 1)ผู้บังคับบัญชา (ปมท./รอง ปมท./ ผต.มท.): 30% 2) ภาคราชการ (หน.ส่วนราชการสำคัญ/กบจ.) : 20% 3) ภาคเอกชน (กรอ./ นักธุรกิจ) : 20% 4) อปท.(นายก อบจ./ นายกเทศมนตรี) : 20% 5) ภาค ปชช. (พระ /NGO/ ปราชญ์ชาวบ้าน) : 10% วิธีการ ประเมิน ประเมินโดย ปมท. รอง ปมท. และผู้ตรวจราชการเขต 1. ประเมินสมรรถนะ 12 หมวด 12 ตัวชี้วัด (ก.พ.) 2. กลุ่มผู้ประเมินจากภาคราชการ ภาคเอกชน และภาค ปชช. กลุ่มละ 10 ราย (ปี 47-48) ปัจจุบันไม่ใช้ 3.ประเมินโดย รอง ปมท.และผต.มท.
ผวจ./ รองผวจ. ที่อยากเห็น (Smart Governor/ Administrative Leader/Strategic Leader มีคุณธรรม ธรรมาภิบาล ประชาชนรักใคร่ นักปกครอง (Smart Governor) นักบริหาร (Smart Administrative Leader) นักยุทธศาสตร์ (Smart Strategic Leader) มีวิสัยทัศน์ กว้างไกล ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ บรรลุผลสัมฤทธิ์ มีระบบ การทำงาน เป็นเลิศ ระบบการประเมินบุคคลและผลงานที่สามารถปฏิบัติได้ ระบบการประเมินที่ผู้ถูกประเมินยอมรับ (Acceptable) ระบบการประเมินที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ (High feasibility) ระบบการประเมินที่เกิดจากการมีส่วนร่วม (Participation) ระบบการประเมินที่มีพลวัตร (Dynamic) ระบบการประเมินที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะส่วนบุคคล (Tailor-made)
ขอบคุณ