พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
สรุปผลการตรวจราชการ กรณีปกติ รอบที่ 2 ประจำปี 2560 เขตสุขภาพที่ 1
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
ตำบลจัดการสุขภาพ.
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
มาตรการ/กลวิธีสำคัญในการดำเนินงาน
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
โดย นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ รองอธิบดีกรมอนามัย
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การลงข้อมูล LTC ปี ลงข้อมูลผ่านเวปไซด์ : bit.ly\cmpho_ltc/2560
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่าร้อยละ85) กลุ่มเด็กวัยเรียน (๕-๑๔ ปี) 1. เด็กนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วน(ไม่เกินร้อยละ10ภายในปี 2560) 2. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี (ไม่เกิน 6.5 ต่อประชาชนเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี แสนคน)

พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กวัยรุ่น/นักศึกษา(๑๕-๒๑ปี) 1.อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิง อายุ15-19 ปีพันคน ภายในปี 2561 2. ความชุกผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15-19 ปี ไม่เพิ่มขึ้นจากผลการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง(BSS)ในปี2558 กลุ่มวัยทำงาน(๑๕-๑๙ปี) 1. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน(ไม่เกิน16ต่อประชากรแสนคน ใน ปีงบประมาณ 2559) 2 .อัตราตายจากหลอดเลือดหัวใจ (ลดลงร้อยละ10 ภายในปี2562) กลุ่มผู้สูงอายุ (๖๐ ปีขึ้นไป)และผู้พิการ 1. ร้อยละของผู้สูงอายุต้องการความช่วยเหลือในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน พื้นฐาน(ไม่เกินร้อยละ 15)

ตำบลจัดการสุขภาพบูรณาการ 5 กลุ่มวัย หมายถึงตำบลต้นแบบระบบการส่งเสริมสุขภาพการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ( LTC ) บูรณาการ 5 กลุ่มวัย ผ่านเกณฑ์ องค์ประกอบคือ 1.มีระบบการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพ และมีข้อมูลผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือระยะยาว 2.มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ(Home Health care) จากสถานบริการสู่ชุมชนโดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ 3.ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (care giver)หรืออาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ/ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ(Care Manager) การจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 4.มีบริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ

5. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้าน ติดเตียง โดยท้องถิ่น ชุมชน มีส่วนร่วมและมีแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล (care plan) 6. มีการจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย MOU ของกลุ่มวัยทุกตัว ที่ทุกตำบลดำเนินการ 7 บูรณาการระดับพื้นที่ 1. ระบบสุขภาพอำเภอ(DHS) ๒. ตำบลจัดการสุขภาพ ๓. ทีมหมอครอบครัว (FCT) 8. มีBrest Pratice การจัดการสุขภาพบูรณาการ 5 กลุ่มวัย หมายเหตุ- ผ่านเกณฑ์หมายถึงผ่านองค์ประกอบทุกข้อ (๘ข้อ)

ตำบลต้นแบบดูแล 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ นโยบายท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขให้ลองทำตำบลต้นแบบที่ดูแลทั้งผู้สูงอายุเด็กวัยทำงาน 1000ตำบล เป้าหมายดูแลผู้สูงอายุระยะยาวLTC 600ล้านบาท จากสปสช ดูแลเรื่องพัฒนาการเด็กให้สมวัยดูแลวัยทำงานเรื่องเบาหวานความดันโลหิตสูงไตวายเรื้อรัง ใช้กลยุทธ์แบบบูรณาการทั้งระบบ สุขภาพอำเภอDHS. ตำบลจัดการสุขภาพ. ทีมหมอครอบครัวFCT. พัฒนางานสาธารณสุขมูลฐานต่อยอดอสม

เป้าหมาย ทำทุกตำบล ตำบลนำร่อง 20 ตำบลผ่านเกณฑ์ 100 %

ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานแต่ละไตรมาส   ตัวชี้วัด/เป้าหมาย มาตรการ ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานแต่ละไตรมาส ๓ เดือน ๖ เดือน ๙ เดือน ๑๒ เดือน 1. ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ (ร้อยละ 7๐) ประเด็นที่มุ่งเน้น 1.1 กลุ่มแม่และเด็ก - หญิงตั้งครรภ์มีความเสี่ยง - พัฒนาการเด็กสมวัย 1.2 กลุ่มวัยเรียน - Defect ที่มีผลต่อการ เรียนรู้ : สายตา,LD, IQ/EQ 1.3 กลุ่มวัยรุ่น - Teenage Preg. ALC/บุหรี่ 1.4 กลุ่มวัยทำงาน - CKD / DM / HT ระบบข้อมูล 1. ฐานข้อมูลสุขภาพบุคคลของคนในพื้นที่(ระดับตำบล) 2. HDC การป่วย/การส่งต่อ (ระดับอำเภอ /ระดับจังหวัดและ ระดับเขต ) การบริการ 1. การเฝ้าระวัง/คัดกรอง ตามประเด็นที่มุ่งเน้นของ 5 กลุ่มวัย (ตำบล) 1. ตำบลมีฐานข้อมูลสุขภาพบุคคลในพื้นที่ 2. DHS มีความพร้อม 1. มีตำบลต้นแบบดูแล LTC อย่างน้อย 1,000 ตำบล 1. ตำบลต้นแบบดูแล LTC สามารถขยายผลสู่ตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ ได้ อย่างน้อย 1,000 ตำบล 1. มี Best practice ของตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบูรณาการ

ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานแต่ละไตรมาส   ตัวชี้วัด/เป้าหมาย มาตรการ ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานแต่ละไตรมาส ๓ เดือน ๖ เดือน ๙ เดือน ๑๒ เดือน 1.5 กลุ่มผู้สูงอายุ - ผู้สูงอายุติดบ้าน/ติดเตียง 2. การจัดระบบบริการดูแลต่อเนื่อง รองรับกลุ่มเสี่ยงที่ส่งต่อมาจาก ตำบล (อำเภอ/จังหวัด/ส่วนกลาง) 2.1 กลุ่มแม่และเด็ก MCH board Quality 2.2 กลุ่มวัยเรียน การช่วยเหลือและแก้ไข เด็กที่มีภาวะผิดปกติของ สายตา ,LD, IQ/EQ 1. ตำบลมีฐานข้อมูลสุขภาพบุคคลในพื้นที่ 2. DHS มีความพร้อม 1. มีตำบลต้นแบบดูแล LTC อย่างน้อย 1,000 ตำบล 1. ตำบลต้นแบบดูแล LTC สามารถขยายผลสู่ตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ ได้ อย่างน้อย 1,000 ตำบล 1. มี Best practice ของตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบูรณาการ

ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานแต่ละไตรมาส   ตัวชี้วัด/เป้าหมาย มาตรการ ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานแต่ละไตรมาส ๓ เดือน ๖ เดือน ๙ เดือน ๑๒ เดือน 2.3 กลุ่มวัยรุ่น YFHS , O-HOS 2.4 กลุ่มวัยทำงาน CKD Clinic , NCD คุณภาพ 2.5 กลุ่มผู้สูงอายุ Long Term Care การบริหารจัดการ 1. มี Program Manager การจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ ทั้งในระดับส่วนกลาง เขต จังหวัด และอำเภอ 1. ตำบลมีฐานข้อมูลสุขภาพบุคคลในพื้นที่ 2. DHS มีความพร้อม 1. มีตำบลต้นแบบดูแล LTC อย่างน้อย 1,000 ตำบล 1. ตำบลต้นแบบดูแล LTC สามารถขยายผลสู่ตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ ได้ อย่างน้อย 1,000 ตำบล 1. มี Best practice ของตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบูรณาการ

ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานแต่ละไตรมาส   ตัวชี้วัด/เป้าหมาย มาตรการ ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานแต่ละไตรมาส ๓ เดือน ๖ เดือน ๙ เดือน ๑๒ เดือน 2. บูรณาการ ระดับพื้นที่ 1.1 ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) 1.2 ตำบลจัดการสุขภาพ 1.3 ทีมหมอครอบครัว (FCT) 1. ตำบลมีฐานข้อมูลสุขภาพบุคคลในพื้นที่ 2. DHS มีความพร้อม 1. มีตำบลต้นแบบดูแล LTC อย่างน้อย 1,000 ตำบล 1. ตำบลต้นแบบดูแล LTC สามารถขยายผลสู่ตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ ได้ อย่างน้อย 1,000 ตำบล 1. มี Best practice ของตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบูรณาการ