สิงหาคม 2558
กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ สมาชิกของกลุ่ม จิตติมา รอดสวาสดิ์ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ สุนิสา สกลนันท์ สำนักโภชนาการ รัตนาภรณ์ มั่นคง สำนักทันตสาธารณสุข
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา ประเด็นการนำเสนอ 1 แนวคิดการวิเคราะห์ 2 ผลการวิเคราะห์ 3 ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง คุณค่าที่ควรส่งมอบ CONCEPTUAL FRAMEWORK เป้าหมาย : คนมีสุขภาพดี ผลลัพธ์ที่คาดหวัง คุณค่าที่ควรส่งมอบ กลยุทธ์ แนวโน้มสถานการณ์ เทคโนโลยี สังคม/วัฒนธรรม ภาวะสุขภาพ เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม นโยบาย
ระนอง ชุมพร พังงา สุราษฎร์ธานี กระบี่ นครศรีธรรมราช ภูเก็ต
สภาพเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม สินค้าเกษตร รายได้ การท่องเที่ยว
ที่มาข้อมูล : สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปี 2554 จำนวนมหาวิทยาลัยน้อย ปี 2573 O-net ต่ำ ภาวะพึ่งพิง จำนวนปีการ ศึกษาเฉลี่ยต่ำกว่าระดับประเทศ สังคม ภาคใต้ 1 ระนอง 2 ภูเก็ต 3 พังงา หญิง 100 คนที่คลอดปกติเป็นมารดาอายุต่ำกว่า 20 ปี ถึง 13.12% เกณฑ์เฝ้าระวัง = 10% 27% ของปชก.จ.ระนอง เป็นแรงงานต่างด้าว ที่มาข้อมูล : สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กระแสท่องเที่ยวอนุรักษ์ การท่องเที่ยว LANDMARK เกาะ ชายหาด ดำน้ำ เชิงวัฒนธรรม TOURIST คนไทยและต่างชาตินิยมเที่ยวภาคใต้มากที่สุด สร้างรายได้สูงสุด คิดเป็น 25.7% ของรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งหมด WASTE ภูเก็ต มีขยะ (กก./คน/วัน) = 5 กก. สูงสุดของประเทศ การกำจัดขยะมีข้อจำกัด วาระแห่งชาติ กระแสท่องเที่ยวอนุรักษ์
Designing Value Proposition ผลลัพธ์ที่คาดหวังจากคุณค่าที่ทาง ศอ.11 ควรส่งมอบ Stakeholder แนวโน้มสถานการณ์ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคสาธารณสุข เขตบริการสุขภาพ สสจ. ส.คร. ศุนย์สุขภาพจิต มีแหล่งท่องเที่ยวทางทางทะเลที่มีชื่อเสียงติดอันดับโลก รายได้จากการท่องเที่ยวสูงเป็นอันดับสองรองจากกรุงเทพ นักท่องเที่ยวต่างชาติเป็นชาวยุโรป แหล่งท่องเที่ยวที่มีมาตรฐานของสุขอนามัยและความสะอาด เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและสร้างรายได้อย่างยั่งยืน อัตราการตายของมารดามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อัตราตายของทารกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อัตราการตั้งครรภ์และคลอดบุตรก่อนวัยอันควรอยู่ในเกณฑ์สูงประชากรเป็นโรคอ้วนมากขึ้น เมืองที่เป็นมิตรกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม นอกภาคสาธารณสุข อปท. ท้องถิ่นจังหวัด เขตการศึกษาในพื้นที่ สิ่งแวดล้อมจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด ท่องเที่ยวจังหวัด แรงงานจังหวัด ปัองภัยภัยจังหวัด สมาคมผู้ประกอบการ องค์กรภาคเอกชนด้านเด็ก สตรี และผู้สูงอายุ ประชาสังคมด้านสุขภาพ การควบคุมดูแลสถานประกอบการที่ไม่ส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม อัตราการพึ่งพิงของประชากรผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น ประชากรวัยแรงงานและวัยเด็กมีแนวโน้มลดลง ประชากรเจ็บป่วยด้วยโรค NCD และโรคอ้วนมีแนวโน้มสูงขึ้น ท้องถิ่นและชุมชนมีระบบการจัดการด้านส่งเสริมสุขภาพให้กับประชากรกลุ่มพึ่งพิง สภาพสังคมมีความเป็นเมืองมากขึ้น ปริมาณขยะชุมชนในขยะในเมืองท่องเที่ยวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เกิดปัญหาอุทกภัยมากขึ้นและรุนแรงขึ้น ระบบส่งเสริมอนามัยพันธุ์ที่มีคุณภาพ ลดปัญหา”การเกิดน้อย ด้อยคุณภาพ”เสริมบทบาทครอบครัวและ Gender การเปิดเสรีทางการค้าภายใต้ AC มีระบบสนับสนุนด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพเมื่อเกิดภัยพิบัติ
STRATEGIC FRAMEWORK HPC 11 สนับสนุนการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ALL FOR HEALTH สร้างความร่วมมือภาครัฐ เอกชน (Public Private Partnership) การสร้างบรรทัดฐานทางสุขภาพของสังคม (Social Marketing)