ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล
สถานการณ์วัณโรคจังหวัดสตูล อัตราการรักษาสำเร็จวัณโรครายใหม่ (2557 – 2559) 2557 2558 2559 พ.ศ. ตาย ขาดยา ล้มเหลว โอนออก ไม่ ประเมิน 2557 8.1 3.1 1.9 1.3 2558 10 1.8 3.5 1.2 0.6 2559 4.4 2.8 3.9 1.7
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ที่ขึ้นทะเบียน ปี2559 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ที่ขึ้นทะเบียน ปี2559 หมายเหตุ : ไม่สามารถประเมินผล หมายถึง อยู่ระหว่างการรักษาและโรงพยาบาลยังไม่ปิด case การรักษาในโปรแกรม TBCM
ผลสำเร็จของการดำเนินงาน (Out Come) ปี 2560 การค้นหาTB ในกลุ่มเสี่ยง การพบผู้ป่วยวัณโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง
การรักษาผู้ป่วยวัณโรคเชื้อดื้อยา อำเภอ จำนวน MDR TB XDR TB กำลังรักษา หาย ขาดยา ตาย โอนออก เมือง (MDR TB) ปี 2559 2 1 - ละงู ( XDR TB ) ปี 2560
การดำเนินงานวัณโรค ปี 2561 เกณฑ์ จาก 172 ต่อแสนประชากร ปัญหา ผู้ป่วยวัณโรคที่คาดว่าจะมี (ทุกประเภท) 1. การค้นหายังไม่ครอบคลุมกลุ่มเสี่ยง 2. ผู้ป่วยบางรายยังไม่ให้ความร่วมมือใน การรักษา พบผู้ป่วย MDR – TB และ XDR-TB มาตรฐานคลินิควัณโรคยังไม่ผ่านการประเมิน จังหวัด เป่าหมาย พบ สตูล 545 47 มาตรการ 1. การเร่งรัดคัดกรองวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง 2. การติดตามลงเยี่ยมบ้านในกลุ่มผู้ป่วยกลับเป็นซ้ำ และผู้ป่วยดื้อยาทุกราย 3. การทำ Case Management ในกลุ่มผู้ป่วย MDR – TB และ XDR-TB ทุกราย 4. พัฒนามาตรฐานคลินิควัณโรคให้ผ่านการประเมินทุกแห่ง อำเภอ เป้าหมาย พบ เมือง 196 21 ควนโดน 45 3 ควนกาหลง 59 8 มะนัง 31 5 ท่าแพ 50 4 ละงู 123 ทุ่งหว้า 41 1 กิจกรรมสำคัญ 1.แต่งตั้งศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรคแห่งชาติ(คำสั่งที่ ๑๐๘/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๐) 2.เข้มข้นในการทำ DOT(รายงานการกินยาประจำวัน/ทีมควบคุมกำกับระดับจังหวัดรายอำเภอ) 3.พัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยวัณโรคเข้มข้น ชัดเจน(ส่งต่อโดย Social ๒ วัน,เอกสาร๓-๕ วัน) 4.ใช้ Social ในการติดตามผู้ป่วยและประสานงาน 5.กำหนดให้การคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงเป็นตัวชี้วัด คปสอ. 6.ประชุมติดตามการดำเนินงาน ( TB-Clinic)ทุกสัปดาห์ 7.TB สัญจรทุกเดือน/ทุกอำเภอ เพื่อดูความก้าวหน้าการดำเนินงาน 8.DOT Meeting ระดับพื้นที่ทุกอำเภอ/Conference case TB ที่มีความเสี่ยงในการรักษา 9.นำเสนอ/ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในการประชุมประจำเดือน