โครงการพัฒนาฝีมือให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และผู้มีรายได้น้อย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุตสาหกรรมไทย ภายใต้การเปิดการค้าเสรี
Advertisements

Privilege: BOI The Board of Investment of Thailand (BOI)
โครงการจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
บีโอไอ หรือ สำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน เป็นหน่วยงานราชการ กระทรวง อุตสาหกรรม “ บีโอ ไอ ” บริหารงานในรูปแบบคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนมีนายกรัฐมนตรีเป็น.
การประชุม ผู้อำนวยการสถานศึกษา สพป. มหาสารคาม เขต 1 1 สิงหาคม 2557 ณ ห้องประชุม 4 B อาคารศูนย์ภาษา และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาสารคาม.
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
เอกสารนำเสนอโครงการ. ที่มาโครงการ : สำนักส่งเสริมพัฒนาธุรกิจ กระทรวงพาณิชย์ ธนาคาร SME Bank และสมาคม แฟรนไชส์ และไลเซนส์ (FLA) ร่วมกันผลักดันโครงการช่วยด้านการเงินแก่
4 การวัด การวิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ Measurement Analysis and Knowledge Management State Enterprise Performance Appraisal.
Professional Leaning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวีชาชีพ
ร่าง ปี 2562 (ณ 8 ก.ย. 60) 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา
New Chapter of Investment Promotion
การจัดทำงบการเงินและการกรอกแบบ ภ.ง.ด.50
Co-Create Charoenkrung
หน่วยงานราชการและภาคเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
EEC : EASTERN SPECIAL ECONOMIC CORRIDOR อีอีซี : เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก.... กรณีศึกษา : มิติการลงทุนและการจ้างงาน โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้สำนักงาน กพร
Teaching Learning Community. Teaching Learning Community.
กลุ่มงานหลักเกณฑ์ฯ สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
แนวทางการจัดทำแผนงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
อาหารและการเกษตรไทย ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ยินดีต้อนรับ ผู้มาเยี่ยมเยียนทุกท่าน
ข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โดย คณะทำงานจัดทำข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โครงการฝึกอบรมนักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย รุ่นที่ 1 ปีงบประมาณ 2558.
“พัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี พ.ศ ”
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
๕ พัฒนาการของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
ฝึกปฏิบัติ กระบวนการแผนพัฒนาหมู่บ้าน
หลักการตลาด บทที่ 16 การประชาสัมพันธ์.
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกษตรสมัยใหม่ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook Teacher)
การทบทวนผลการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2559
KHON KAEN UNIVERSITY SCIENCE PARK.
บรรยายการปรับแผนพัฒนาฝีมือแรงงานในมิติ
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ CLMV
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  THM4406 การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย
การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านหาด อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจขนาดย่อม
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
แนวคิดและตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ เพื่อการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการ
PLC.
บทบาทของกรมการปกครองกับ กระบวนการยุติธรรมทางเลือก (Alternatives to Justice) โดย..วรวิทย์ ยอแสงนอ
เรื่องเดิม 2. การประกาศเขตส่งเสริมเพื่อกิจการอุตสาหกรรมในพื้นที่ EEC
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
การขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ จังหวัดบุรีรัมย์
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
การประชุมเพื่อกำหนดแนวทางกิจกรรมรองรับนโยบายการขายและการให้บริการ หน่วยธุรกิจโทรศัพท์ประจำที่และบรอดแบนด์ ปี 2560.
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน และคณะ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ และ หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่ สัปดาห์ที่ 3 1.
จารย์เวิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาฝีมือให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และผู้มีรายได้น้อย เจ้าของโครงการ กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ

สอดคล้องกับนโยบาย (๑) นโยบายรัฐบาล ข้อที่ ๓ การลดความเหลื่อมล้ำของสังคม และการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม

สอดคล้องกับนโยบาย (๒) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒: การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคมเพิ่มโอกาสให้กับกลุ่มประชากรร้อยละ ๔๐ ที่มีรายได้ต่ำสุด ให้เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพของรัฐ เพิ่มศักยภาพชุมชน และเศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็ง

สอดคล้องกับนโยบาย (๓) ภารกิจกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน : ด้านการส่งเสริมสร้างเครือข่าย และพัฒนาศักยภาพแรงงานผู้สูงอายุ สตรี เยาวชน คนพิการ และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ

หลักการและเหตุผล (๑) วิสาหกิจชุมชน (Community enterprise) คือ กิจการของชุมชนเกี่ยวกับ การผลิตสินค้า การให้บริการ

หลักการและเหตุผล (๒) หรือ การอื่นๆ ที่ดำเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความผูกพัน มีวิถีชีวิตร่วมกันและรวมตัวกันประกอบกิจการดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนิติบุคคลในรูปแบบใด หรือไม่เป็นนิติบุคคล เพื่อสร้างรายได้และเพื่อการพึ่งพาตนเองของครอบครัว และชุมชน และระหว่างชุมชน

หลักการและเหตุผล (๓) กล่าวโดยสรุป : คือ การประกอบการเพื่อการจัดการ “ทุนของชุมชน” อย่างสร้างสรรค์เพื่อการพึ่งตนเอง

หลักการและเหตุผล (๔) “ทุนของชุมชน” ไม่ได้หมายถึงแต่เพียงเงิน แต่รวมถึงทรัพยากร ผลผลิต ความรู้ ภูมิปัญญา ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคม (กฎเกณฑ์ทางสังคมที่ร้อยรัดผู้คน ให้อยู่ร่วมกันเป็นชุมชน เป็นพี่เป็นน้องไว้ใจกัน)

ขนาดของวิสาหกิจชุมชน หลักการและเหตุผล (๕) ขนาดของวิสาหกิจชุมชน เป็นธุรกิจที่ยังมีขนาดไม่ถึงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) หรือสหกรณ์ แต่เป็นธุรกิจที่สามารถช่วยเหลือเศรษฐกิจของประเทศ ได้ในระดับหนึ่ง

ปัญหาของวิสาหกิจชุมชน หลักการและเหตุผล (๖) ปัญหาของวิสาหกิจชุมชน ไม่เป็นที่ยอมรับของหน่วยงานรัฐหรือเอกชนอื่น ๆ การสนับสนุนจากภาครัฐไม่ตรงกับความต้องการที่แท้จริง เนื่องจากข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย และความต้องการไม่ชัดเจน การถ่ายทอดความรู้ให้แก่คนในชุมชนในด้านการจัดการ การผลิตสินค้า และการให้บริการขาดความต่อเนื่อง สินค้าและบริการในชุมชน อยู่ในระดับที่ไม่พร้อมจะเข้ามาแข่งขันทางการค้า ขาดการพัฒนาทักษะ ที่เชื่อมโยงภูมิปัญญาท้องถิ่นผสมผสานกับภูมิปัญญาสากล

ภารกิจกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน พัฒนาฝีมือแรงงานและศักยภาพของกำลังแรงงานและผู้ประกอบกิจการ เพื่อให้กำลังแรงงานมีฝีมือได้มาตรฐานในระดับสากล มีความสามารถ ในการประกอบอาชีพสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และเพื่อส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบกิจการ ที่มีความสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก

วัตถุประสงค์ เพื่อลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของกลุ่มคนที่มีฐานะ ทางเศรษฐกิจสังคมแตกต่างกันและแก้ไขปัญหาความยากจน โดยให้สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายมากขึ้น เพื่อเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมของภาครัฐ ในการได้รับการพัฒนาทักษะฝีมือเพื่อประกอบอาชีพ เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านนวัตกรรมใหม่ๆ ให้กลุ่มเป้าหมายในการ สร้างอาชีพเพิ่มรายได้ ให้สามารถพึ่งตนเองและเลี้ยงครอบครัวได้

ผู้ยากจน ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีรายได้น้อยอายุ ๑๘ ปี กลุ่มเป้าหมาย ผู้ยากจน ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีรายได้น้อยอายุ ๑๘ ปี ขึ้นไป กลุ่มวิสาหกิจชุมชน รวม ๓,๘๖๐ คน

ประเภท : หลักสูตรการฝึกอาชีพเสริม หลักสูตรการฝึกอบรม ประเภท : หลักสูตรการฝึกอาชีพเสริม ระยะเวลาการฝึก : ระหว่าง ๑๘ – ๓๐ ชั่วโมง

พื้นที่เป้าหมาย ดำเนินการใน ๒๐ จังหวัด ที่มีผู้มีรายได้ต่อหัวต่ำสุด ตาม จปฐ. ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เทียบกับข้อมูลของ BOI

พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน สุโขทัย แพร่ น่าน ศรีสะเกษ นครพนม อำนาจเจริญ ยโสธร สุรินทร์ สกลนคร ชัยภูมิ บึงกาฬ อุบลราชธานี บุรีรัมย์ หนองบัวลำภู กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม มุกดาหาร สระแก้ว

งบประมาณ งบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ รวมทั้งสิ้นจำนวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท (สิบล้านบาทถ้วน) วงเงินงบประมาณสามารถนำไปดำเนินการเฉลี่ยถัวจ่ายได้ทุกรายการเท่าที่จ่ายจริง โดยคำนึงถึงความเหมาะสม และประหยัด

งบประมาณ รวม (๕๑,๕๐๐ บาท/รุ่น x ๑๙๒ รุ่น) + ๑๑๒,๐๐๐ บาท ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ค่าอาหารกลางวัน ๑๕๐ บาท x ๕ มื้อ x ๒๐ คน/รุ่น ๑๕,๐๐๐ บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๓๕ บาท x ๑๐ มื้อ x ๒๐ คน/รุ่น ๗,๐๐๐ บาท ๕๑,๕๐๐ บาท/รุ่น ค่าวัสดุฝึกอบรม ๕๐๐ บาท x ๒๐ คน/รุ่น ๑๐,๐๐๐ บาท ค่าบริหารจัดการ ๑,๕๐๐ บาท /รุ่น ๑,๕๐๐ บาท ค่าใช้จ่ายในการบริหารโครงการและติดตามประเมินผล ๑๑๒,๐๐๐ บาท (กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ) รวม (๕๑,๕๐๐ บาท/รุ่น x ๑๙๒ รุ่น) + ๑๑๒,๐๐๐ บาท ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

เป้าประสงค์ แรงงานในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และผู้มีรายได้น้อยเข้าฝึกอบรมทักษะฝีมือ หลักสูตรการฝึกอาชีพเสริมตามจำนวนเป้าหมายที่ตั้งไว้ จำนวนผู้สำเร็จการฝึกผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน และมีทักษะฝีมือไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และผู้มีรายได้น้อยมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๑๐ ต่อปี

ผลที่คาดว่าจะได้รับ (๑) ผลที่คาดว่ากลุ่มวิสาหกิจชุมชน และผู้มีรายได้น้อย จะได้รับ มีทักษะฝีมือในสาขาอาชีพต่าง ๆ เพื่อประกอบอาชีพสร้างรายได้ ที่ยั่งยืน ได้รับการส่งเสริมด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์ การพัฒนาด้านเทคโนโลยี การตลาด ด้านโลจิสติกส์ มีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับ และแข่งขันทางการค้าได้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ (๒) มีอาชีพที่ยั่งยืน พึ่งพาตนเองได้ สร้างเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิต ที่มั่นคง มีการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในการแก้ปัญหาลดความเหลื่อมล้ำ ด้านรายได้และแก้ไขปัญหา ความยากจน

การประเมินผลโครงการ (๑) สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน/สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน รายงานผลการฝึกอบรม ผ่านระบบรายงานผลการพัฒนาฝีมือแรงงาน ใช้แบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย โดยแบ่งเป็น ๔ ระดับ คือ (๑) ค่าความพอใจในระดับควรปรับปรุง (๒) ค่าความพอใจในระดับพอใจ (๓) ค่าความพอใจในระดับดี (๔) ค่าความพอใจในระดับดีมาก

การประเมินผลโครงการ (๒) กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการติดตามผล การดำเนินงานจากระบบรายงานผลการพัฒนาฝีมือแรงงานและติดตามผลการฝึกอบรมในพื้นที่จัดฝึกอบรมในระหว่างการฝึกอบรมและหลังจาก จบการฝึกอบรม

ถาม-ตอบ จบการนำเสนอ