การเขียนผังงาน (Flow Chart)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
Advertisements

ลักษณะโครงสร้างของผังงาน
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษา C++
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
ขั้นตอนวิธี Algorithms.
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Program Flow Chart.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
บทที่ 2 การประมวลผลข้อมูล
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Flow Chart INT1103 Computer Programming
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
ผังงาน (FLOW CHART) ส่วนประกอบของผังงาน (Flow Chart)
Chapter 04 Flowchart ผู้สอน อ.ยืนยง กันทะเนตร
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
Programming & Algorithm
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
20 May 2556 Problem Analysis and Algorithms in Programming.
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานเครื่องดับเพลิง แบบเคลื่อนย้ายได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 11 มีนาคม 2556.
BC322 : Computer Programing (ครั้งที่ 1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
MECH 0230 MECHANICAL DRAWING
อัลกอริทึมและผังงาน อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ผู้อำนวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน สำนักความปลอดภัยแรงงาน
การเขียนผังงานเบื้องต้น
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Concept of Programing.
INC 161 , CPE 100 Computer Programming
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การแสดงขั้นตอนวิธีด้วยรหัสเทียม (Pseudo-Code)
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 6 ผังงานและการออกแบบผังงานเพื่อแก้ปัญหาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น.
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
คำอธิบายรายวิชา การเขียนผังงาน รหัสเทียม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง ชนิดตัวแปร ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ.
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 ขั้นตอนการทำงาน (Algorithm)
การออกแบบระบบ System Design.
บทที่ 2 การบริหารจัดการข้อมูลและลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 13 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code)
ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop) Part1
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
Problem Solving ขั้นตอนวิธีและการแก้ปัญหาสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
การสร้างความตระหนักในเรื่องการรักษาความปลอดภัยของ
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
Development Strategies
อัลกอริทึม (Algorithm ) ขั้นตอนวิธี
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Lecture no. 1: Introduction to Computer and Programming
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
วิชา วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
การควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
การสร้างผังงานโปรแกรม
โครงการปรับปรุงระบบ Oracle Financial มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(Flowchart) ผังงาน.
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนผังงาน (Flow Chart) บทที่ 2 การเขียนผังงาน (Flow Chart)

แผนการสอนรายสัปดาห์ที่ 2 สามารถเขียนลำดับขั้นตอนการทำงานได้ เขียนผังงาน Flow Chart และการเขียน Pseudo code ได้อย่างถูกต้องตามแบบแผน

Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ Pseudo code คือ การอธิบายการทำงานของโปรแกรมโดยใช้การผสมผสานระหว่างประโยคภาษาอังกฤษ กับภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเขียนคำสั่งคอมพิวเตอร์ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการเขียนคำสั่งลำลอง

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(1/13) การเขียนผังงานเป็นการนำเอาภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาเรียงต่อกัน เพื่อแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน โดยมีเส้นลูกศรเชื่อมระหว่างภาพต่างๆ สัญลักษณ์ในการเขียนผังงานที่นิยมใช้กันนั้น เป็นสัญลักษณ์ของหน่วยงานที่ชื่อว่า American National Standard Institute (ANSI) และ International Standard Organization (ISO) เป็นผู้กำหนดและรวบรวมให้เป็นสัญลักษณ์มาตรฐานในการเขียนผังงาน

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(2/13) ความหมาย ตัวอย่างการใช้ คำอธิบาย (Terminal) การเริ่มต้นหรือสิ้นสุดการเขียนผังงาน เริ่มต้นผังงาน 2. จบผังงาน Input/output รับข้อมูลแสดงข้อมูลโดยไม่ระบุสื่อ รับค่าใส่ในตัวแปรชื่อ name แสดงค่าจากตัวแปร area START STOP read name display area

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(3/13) ความหมาย ตัวอย่างการใช้ คำอธิบาย Punch card การรับหรือแสดงข้อมูลโดยใช้บัตรเจาะรู อ่านค่า A ที่บัตรเจาะรู 1 ใบ เจาะค่า B,C บนบัตร 1 ใบ Card Desk ชุดของบัตรเจาะรู เจาะค่า B1 , B2 , Bn บนบัตร n ใบ read A punch B , C punch bi b=1 ,…n

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(4/13) ความหมาย ตัวอย่างการใช้ คำอธิบาย Punched tape การรับหรือแสดงข้อมูลโดยใช้เทปกระดาษ อ่านค่า ID , name บนเทปกระดาษ Magnatic tape การรับหรือแสดงข้อมูลโดยใช้เทปแม่เหล็กเป็นสื่อ read ID , name

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(5/13) ความหมาย ตัวอย่างการใช้ คำอธิบาย Magnatic disk การรับหรือแสดงข้อมูลโดยใช้จานแม่เหล็กเป็นสื่อ Magnatic drum การรับหรือแสดงข้อมูลโดยใช้ดรัมแม่เหล็กเป็นสื่อ

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(6/13) ความหมาย ตัวอย่างการใช้ คำอธิบาย Document การแสดงผลลัพธ์ทางเครื่องพิมพ์ พิมพ์ค่า A ทาง เครื่องพิมพ์ Display การแสดงผลลัพธ์ทางจอภาพ แสดงค่า A, B บนจอภาพ write A display A , B

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(7/13) ความหมาย ตัวอย่างการใช้ คำอธิบาย Process การประมวลผล คำนวณ A + B และเก็บไว้ใน C กำหนดค่า sum เท่ากับ 0 Compare หรือ Decision การเปรียบเทียบหรือตัดสินใจ เปรียบเทียบถ้า i มีค่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 - เป็นจริง พิมพ์ค่า i เสร็จแล้วไปทำคำสั่งอื่น ๆ - เป็นเท็จ ไปทำคำสั่งอื่น ๆ C = A + B Sum = 0 i <= 10 true false แสดง i

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(8/13) ความหมาย ตัวอย่างการใช้ คำอธิบาย Preparation การกำหนดค่าต่างๆ ไว้ล่วงหน้า กำหนดให้ i มีค่าเท่ากับ 1 และเพิ่มค่าทีละ 1 จนมีค่าเป็น 100 จึงออก จากการทำงานซ้ำ โดยแต่ละรอบ บวกค่า sum ด้วยค่า i Flow line แสดงทิศทางและลำดับของการทำงาน for i =1 to 100 sum = sum + i i

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(9/13) ความหมาย ตัวอย่างการใช้ คำอธิบาย In-Page connector จุดต่อเนื่องในหน้าเดียวกัน หลังจากพิมพ์ค่า A แล้วให้ทำตามที่จุด ต่อเนื่อง A ซึ่งอยู่ใน หน้าเดียวกัน Off-Page Connector จุดต่อเนื่องที่อยู่คนละหน้า หลังจากกำหนดค่า A เท่ากับ 3 ให้ทำตาม จุดต่อเนื่องชื่อ 1 ซึ่งไม่ได้อยู่ในหน้า เดียวกัน write A A A = 3 1

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(10/13) ความหมาย ตัวอย่างการใช้ คำอธิบาย Comment หมายเหตุ Manual Input รับค่าทางการกดแป้นพิมพ์ รับค่า A ทาง แป้นพิมพ์ read A A = Age read A

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(11/13) ความหมาย ตัวอย่างการใช้ คำอธิบาย Predefine Process การทำงานที่กำหนดไว้แล้ว เช่น โปรแกรมย่อย เรียกโปรแกรม ย่อยชื่อ findGrade ให้ทำงาน Offline Processing การควบคุมการทำงานด้วยมนุษย์ บางครั้งเรียกการทำงานแบบออฟไลน์ findGrade

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(12/13) ความหมาย ตัวอย่างการใช้ คำอธิบาย Auxiliary Operation การทำงานแบบออฟไลน์ของอุปกรณ์ที่ไม่ได้ถูกควบคุมจากหน่วยประมวลผลกลางโดยตรง Sorting การจัดเรียงลำดับข้อมูล

สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน(13/13) ความหมาย ตัวอย่างการใช้ คำอธิบาย Communication Link การส่งข้อมูลทางสายสื่อสาร

หลักการจัดภาพผังงาน ทิศทางของผังงานจะเริ่มจากส่วนบนของหน้ากระดาษ ลงมายังส่วนล่าง และจากซ้ายมือไปของหน้ากระดาษ และควรเขียนเครื่องหมายลูกศรกำกับทิศทางไว้ด้วย สัญลักษณ์หรือภาพที่ใช้ในการเขียนผังงานมีขนาดต่าง ๆ กันได้ แต่จะต้องมีรูปมาตรฐานตามความหมายที่กำหนด

หลักการจัดภาพผังงาน 3. การเขียนทิศทางของผังงานควรเป็นไปอย่างมีระเบียบ และหลีกเลี่ยงการขีดโยงไปโยงมาในทิศทางตัดกัน ถ้าจำเป็น ต้องโยงถึงกัน ควรใช้เครื่องหมายจุดต่อเนื่องแทนและถ้าเป็นไปได้ควรเขียน ผังงานให้จบในหน้าเดียวกัน 4. คำอธิบายในภาพ เขียนเพียงสั้น ๆ และเข้าใจง่าย 5. ผังงานที่ดีควรจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยและสะอาด นอกจากนี้แล้ว จะมีชื่อของผังงาน ผู้เขียน วันที่เขียน และเลขหน้าลำดับ

รูปแบบการเขียนผังงาน แบบตามลำดับ (Sequence) แบบการเลือก/ตัดสินใจ/เงื่อนไข (Selection/Decision/Condition) แบบวนซ้ำ (Iteration / Loop)

รูปแบบตามลำดับ(1/3) แสดงลำดับการทำงานจากบนลงล่างตามลูกศร คำนวณ อ่านข้อมูล คำนวณข้อมูล พิมพ์ผลลัพธ์ งานที่ 1 งานที่ 2 งานที่ 3

รูปแบบตามลำดับ(3/3) เริ่มต้น START STOP C = A + B print C A , B เริ่มต้น รับข้อมูลมาเก็บไว้ในตัวแปร A, B ทางแป้นพิมพ์ เอาค่า A บวกกับ B แล้วเก็บไว้ใน C พิมพ์ค่า C จบการทำงาน

ทำแบบฝึกหัด