บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำกัด (มหาชน)
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ระบบเศรษฐกิจ.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ

นโยบาย แบบแผนความคิดที่ใช้เป็นหลักยึดในการปฏิบัติ หรือการตัดสินใจ, มักใช้ในทางการเมือง เศรษฐกิจ และการบริหาร

บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ มี 4 ด้าน โดยแบ่งได้ดังนี้ 1. ด้านการเมืองการปกครอง 1) ความมั่นคงของรัฐ : รัฐธรรมนูญกำหนดให้รัฐต้องพิทักษ์ไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตยและอำนาจของรัฐ(โดยต้องจัดเตรียมกำลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์และเทคโนโลยีให้พร้อมและเพียงพอเพื่อพิทักษ์รักษาความเป็นชาติไว้ให้มั่งคง) 2) การให้สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคแก่ประชาชน : ประชาชนทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน เช่น 1 คน สามารถลงคะแนนเสียงเลือกตั้งได้ 1 เสียง) การให้เสรีภาพแก่ประชาชนต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตที่จะไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น และรัฐต้องให้เสรีภาพแก่ประชาชนในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยเอกชนสามารถตัดสินใจในการผลิตได้เอง

3) การกระจายอำนาจการปกครองให้กับท้องถิ่นและชุมชน : รัฐธรรมนูญสนับสนุนให้มีการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้สามารถบริหารและตัดสินใจในการดำเนินกิจการของท้องถิ่นได้เอง ทั้งนี้เพื่อต้องการให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสามารถแก้ปัญหาได้มีความเหมาะสมกับท้องถิ่นนั้นๆ ได้จริง และรัฐต้องสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารประเทศไม่ว่าจะเป็นด้านการวางแผนพัฒนา

2. ด้านสังคม 1) เสริมสร้างการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข : แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) ให้รัฐดำเนินกิจกรรมที่มุ่งสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ภายใต้แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3. ด้านเศรษฐกิจ 1.เพื่อให้รายได้ประชาชาติของประเทศเพิ่มขึ้น โดยใช้มาตรการและนโยบายต่างๆ ส่งเสริมการออม การลงทุน การผลิต ซึ่งแสดงถึง สภาพความเป็นอยู่และฐานะทางเศรษฐกิจของประชาชนในประเทศที่ดีขึ้น 2. สร้างและรักษาเสถียรภาพระดับราคาสินค้าในประเทศ หมายถึง การควบคุมภาวะเงินเฟ้อภายในประเทศให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เนื่องจากประชากรที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศขยายตัว ปริมาณเงินหมุนเวียนเพิ่มขึ้น โอกาสที่จะเกิดเงินเฟ้อภายในประเทศสูง รัฐบาลจึงต้องหาวิธีควบคุมภาวะเงินเฟ้อโดยใช้นโยบายการเงินและการคลัง

3. กระจายรายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม เมื่อการพัฒนาเศรษฐกิจเจริญเติบโตเต็มที่แต่ผลของการพัฒนาไม่กระจายสู่คนหมู่มากถือว่าเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่สมบูรณ์ ต้องมีการกระจายรายได้ กระจายความมั่งคั่งสู่ประชาชนภายในประเทศให้เท่าเทียมกันเพื่อให้ช่องว่างของรายได้น้อยลง หรืออาจกล่าวได้ย่อๆดังนี้ 1.พัฒนาเพื่อเพิ่มรายได้ 2.ส่งเสริมการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ 3.ส่งเสริมการวิจัยเพื่อเพิ่มศักยภาพด้านต่าง 4.ปรับกลยุทธ์ในการพัฒนา

4. ด้านการศึกษา หลักการของพัฒนาก็เพื่อพัฒนากำลังคนเพื่อเป็นกำลังหลักในการพัฒนาประเทศ “การพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า สามารถเข้าสู่การแข่งขันในเวทีโลก จำเป็นต้องมีกระบวนการจัดการศึกษาของประเทศให้มีมาตรฐานทั้งในระดับประเทศ และสามารถเทียบเคียงสมรรถนะได้กับมาตรฐานนานาชาติ การประกันคุณภาพจึงเป็นกระบวนการที่สำคัญยิ่งกิจกรรมหนึ่งที่สถานศึกษาต้องดำเนินการควบคู่ไปกับการบริหารสถานศึกษา เพราะการประกันคุณภาพ (Quality Assurance) เป็นการดำเนินการของสถานศึกษา เพื่อให้หลักประกันกับภาคประชาสังคมว่าผลผลิตที่เกิดขึ้น คือ คุณภาพของผู้เรียนจะมีคุณภาพเป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตร มาตรฐานการศึกษาของชาติ และสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ”

กิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล การดำเนินบทบาทและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลมีเป้าหมายคือ เพื่อให้ประชาชนได้รับสวัสดิการมากที่สุดโดยที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมของประเทศ การกระจายรายได้ การรักษาเสถียรภาพและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การจัดสรรทรัพยากร โดยรัฐบาลมีบทบาทและกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ดังนี้ 1. การผลิตสินค้าและบริการ 2. การเก็บภาษี 3. การแทรกแซงและควบคุมราคาสินค้า

การผลิตสินค้าและบริการ 1. การจัดสรรทรัพยากรของสังคม (ผลิตสินค้าสาธารณะ และกึ่งสาธารณะ) - สินค้าสาธารณะ เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา การเก็บขยะมูลฝอย - สินค้ากึ่งสาธารณะ เช่น การบริการ โรงแรม การขนส่ง 2. การผลิตสินค้าและบริการสาธารณะที่เอกชน ไม่ดำเนินการ เนื่องจากต้องใช้เงินในการลงทุนสูง เช่น ถนน โทรศัพท์ ประปา 3. การผลิตสินค้าที่เป็นคุณประโยชน์ เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย

การเก็บภาษีของรัฐในระดับประเทศ - ภาษีทางตรง - ภาษีทางอ้อม ภาษีทางตรง: เก็บจากผู้มีรายได้โดยตรง ได้แก่ 1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา: เรียกเก็บม.ค.-มี.ค. ของปีถัดไป 2. ภาษีเงินได้นิติบุคคล: เรียกเก็บจากบริษัท ห้างหุ้นส่วน นิติบุคคล 3. ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม: เรียกเก็บจากน้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ 4. ภาษีทรัพย์สิน: เรียกเก็บจากทรัพย์สิน เช่น อสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์ 5. ภาษีมรดก: เรียกเก็บจากการโอนทรัพย์สิน 6. ภาษีหลักทรัพย์: เรียกเก็บตราสาร/หลักฐานจากทรัพย์สิน เช่น หุ้น ตั๋วเงิน

ภาษีทางอ้อม: ภาษีที่ผู้เสียภาษีผลักภาระให้ผู้อื่นต่อได้ ได้แก่ 1. ภาษีมูลค่าเพิ่ม: เรียกเก็บจากมูลค่าที่เพิ่มขึ้นในขั้นตอนการผลิต/บริการ 2. ภาษีศุลกากร: “กำแพงภาษี“ 3. ภาษีสรรพสามิต: เรียกเก็บจากสินค้าและบริการฟุ่มเฟือย 4. ภาษีธุรกิจเฉพาะ: เรียกเก็บจากการประกอบการเฉพาะอย่าง 5. ภาษีอากรแสตมป์: ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรประเภทหนึ่ง

การแทรกแซงและควบคุมราคาสินค้า จากการที่ประเทศใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมที่ค่อนข้างไปทางทุนนิยม ทำให้เอกชนสามารถมีบทบาทในการกำหนดราคาในตลาดได้มาก แต่หากระดับราคาตลาดหรือราคาดุลยภาพนั้น ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่คนบางกลุ่มรัฐจะเข้ามาแทรกแทรงกลไกราคา เพื่อช่วยเหลือและสร้างความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจได้ การแทรกแซงราคาของรัฐบาล รัฐบาลจะเข้าไปแทรกแซงกลไกราคาในกรณีที่ กลไกราคาไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที รัฐบาลมักจะเข้าแทรกแซงราคาโดยใช้มาตรการควบคุมราคา ความจำเป็นในการแทรกแซงราคา กลไกราคาจะทำงานอย่างเสรีเฉพาะในตลาดแข่งขันสมบูรณ์เท่านั้น ตลาดแข่งขันสมบูรณ์หมายถึง ราคาหรือบริการใดๆที่ปราศจากการแทรกแซง ในโลกแห่งความเป็นจริง ตลาดที่พบในปัจจุบันเป็นตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ซึ่งผู้ขายอาจมีอิทธิพลต่อการกำหนดราคา หรือในบางกรณีเป็นตลาดของผู้ซื้อซึ่งอาจจะเกิดกับผู้ผลิตที่อาจไม่มีการต่อรองกลไกราคาไม่สามารถแก้ปัญหาได้ทันท่วงทีซึ่งนำความเดือนร้อนมาสู่สังคมโดยรวม รัฐบาลจึงทำเป็นต้องแทรกแซงราคา

นโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล ให้นักเรียนแบ่ง สรุปหัวข้อดังกล่าว ใส่กระดาษรายงานจำนวน 2 หน้า 1.นโยบายการผลิต 2.นโยบายการเงิน 3.นโยบายการคลัง 4.นโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ปัญหาและอุปสรรค 1.ปัญหาเงินเฟ้อ-ปัญหาเงินฝืด 2.ปัญหาการว่างงาน