ข้อกำหนดการศึกษา (TERM OF REFERENCE)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Form Based Codes Presentation
Advertisements

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ. งบประมาณในการพัฒนามหาวิทยาลัยมีจำกัด การผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาที่ไม่เป็นไปตามความ ต้องการของประเทศ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร “หลักสูตรผลิตครู 5 ปี ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานวิชาชีพครู
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
ที่ปรึกษาการบริหารโครงการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
นโยบายด้านกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
EEC : EASTERN SPECIAL ECONOMIC CORRIDOR อีอีซี : เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก.... กรณีศึกษา : มิติการลงทุนและการจ้างงาน โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองแห่งชาติ
Health Promotion & Environmental Health
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
“พัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี พ.ศ ”
กับการก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา
แผนบริหารความเสี่ยง (องค์กร) ปี 2562 มทร.พระนคร
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกษตรสมัยใหม่ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
PRE 103 Production Technology
รายงานสรุปผลการพัฒนา
กระทรวงศึกษาธิการ.
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
The Association of Thai Professionals in European Region
บรรยายการปรับแผนพัฒนาฝีมือแรงงานในมิติ
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒
TIM2303 การขายและการตลาด ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
นโยบายการบริหารงาน ปี 2560
คิดบวก ชีวิตบวก Positive Thinking, Positive Life
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2560 ตามนโยบายยกกระดาษ A4
นักวิชาการกับงานวิชาการเพื่อสังคม (และตำแหน่งทางวิชาการ)
การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อกำหนดการศึกษา (TERM OF REFERENCE) โครงการสร้างบัณฑิตพันธ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะ เพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิต ตามนโยบายการปฏิรูปอุดมศึกษาไทย

หลักการและเหตุผล นโยบาย Thailand 4.0 First S-Curve New S-Curve . ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ . แผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน . แผนการศึกษาแห่งชาติ

หลักการและเหตุผล (ต่อ) นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รมว.ศธ มอบจุดเน้นเชิงนโยบายแนวทางการดำเนินงานและโครงการสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ ด้านการ ผลิตพัฒนากำลังคนและสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลิตกำลังคนรองรับ New S-Curve โดย สานพลังประชารัฐด้านการศึกษาและจัดการศึกษาแบบทวิภาคี นายแพทย์อุดม คชินทร รมช.ศธ. รับนโยบายดังกล่าวมาสู่การปฏิบัติ ปรับปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของคนในทุกช่วงวัน ปรับเป้าหมายหารรับผู้เรียนใหม่ ให้มีทั้งนักเรียน นักศึกษา คนทำงาน และคนสูงอายุ ด้วยรูปแบบหลักสุตรระยะสั้นและระยะยาว สถาบันอุดมศึกษาต้องคำนึงถึงทิศทางการพัฒนาประเทศ สร้างจุดเด่นจุดขายที่โดดเด่น แข่งขันได้ ผลิตบัณฑิตพันธ์ใหม่ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างบัณฑิตพันธ์ใหม่ และกำลังคนที่มีสมรรถนะและศักยภาพสูงสำหรับการทำงานในอุตสาหกรรมใหม่ (New S-Curve) และเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อสร้างฐานการพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งอนาคต โดยปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตบัณฑิต และสร้างต้นแบบของหลักสูตรและการเรียนการสอนเน้นการปรับเปลี่ยนเนื้อหาสาระ โครงสร้างหลักสูตร และกระบวนการจัดการเรียนการสอน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติในการสภาพจริงเป็น สำคัญพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างให้ผู้เรียนมีสมรรถนะและศักยภาพสูง รวมทั้งการร่วมมือกับสถาน ประกอบการ หรือภาคอุตสาหกรรมในการผลิตบัณฑิตและกำลังคน

ขอบเขตการดําเนินการ ตามนโยบายปฏิรูปอุดมศึกษาไทยสู่ New S-Curve สถาบันอุดมศึกษาต้อง สามารถเริ่มดําเนินการจัดการเรียนการสอนได้ภายในภาคการศึกษาแรก ปีการศึกษา 2561 ภายใต้ขอบเขตการดําเนินงาน ดังนี้ ระดับการศึกษา (1) ปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา (2) ประกาศนียบัตร (Non-Degree)

ขอบเขตการดำเนินการ (ต่อ) 2. เนื้อหาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 1) บูรณาการศาสตร์หลากหลายศาสตร์เพื่อการสร้างสมรถนะ เร่งด่วนใหม่ 2) บูรณาการการเรียนรู้จากประสบการณ์การปฏิบัติในสภาพจริง 3) การบูรณาการทักษะชีวิตของสังคมดิจิทัล กับทักษะวิชาชีพ 4) จัดการเรียนการสอนในลักษณะ Modular Based Learning Outcomes and/or Learning Results บูรณาการระหว่างศาสตร์ สาขาวิชา สถาบันการศึกษา และ/หรือสถานประกอบการ และ อุตสาหกรรม 5) หลักสูตรและการเรียนการสอน ที่ตอบสนองต่อความต้องการ และการ พัฒนาทักษะการเรียนรู้รายบุคคลได้ หรือสามารถจัดทําเป็น ภาพรวมทั้งสถาบันใน ลักษณะ whole campus development

ขอบเขตการดำเนินการ (ต่อ) 3. คุณภาพอาจารย์ด้านกระบวนการการเรียนการสอน ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา โดยใช้ “แนวทางการส่งเสริมคุณภาพการจัดการ เรียนการสอนของอาจารย์ ในสถาบันอุดมศึกษา

ขอบเขตการดำเนินการ (ต่อ) 4. ตัวอย่างรูปแบบดําเนินการ รูปแบบที่ 1 การอุดมศึกษาเพื่อเพิ่มสมรรถนะและความเขียวชาญเฉพาะด้าน ที่ตอบโจทย์กําลังคนเร่งด่วนที่สําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (New Growth Engines) ของประเทศ รูปแบบที่ 1.1 จัดการอุดมศึกษาสําหรับกําลังคนที่อยู่ในวัยทํางาน เพื่อเพิ่ม สมรรถนะที่ตอบโจทย์เฉพาะ ของสถานประกอบการ และการพัฒนาส่วนบุคคล ตามอัธยาศัย ในลักษณะให้ใบรับรองความสามารถที่ทําได้จริง และ สามารถนําผล การเรียนและหรือผลการเรียนรู้ มาสะสมหน่วยกดเพื่อนํามาใช้เพื่อขอรับปริญญา ได้ในภายหลัง รูปแบบที่ 1,2 จัดการอุดมศึกษาสําหรับผู้เรียนในระบบการศึกษาปกติ ที่มีความ ร่วมมือกับสถาน ประกอบการ เพื่อต่อยอดการพัฒนาที่ตอบโจทย์การขับเคลื่อน ภาคอุตสาหกรรมอนาคตพลวัตร (New S-Curve) ทั้งแบบระยะยาวตลอด หลักสูตร หรือต่อยอดจากการศึกษาชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4

ขอบเขตการดำเนินการ (ต่อ) 4. ตัวอย่างรูปแบบดำเนินการ (ต่อ) รูปแบบที่ 2 การอุดมศึกษาเพื่อบูรณาการทักษะชีวิตของสังคมดิจิทัลกับความรู้หลักในศาสตร์ สาขาวิชาชีพ >> พัฒนาการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป และทักษะชีวิตของสังคมดิจิทัล ในลักษณะบูรณาการสอดแทรก ผสมผสานเป็นเนื้อเดียวกับรายวิชาหลัก และหรือ รายวิชาเฉพาะ ทุกลมกลืนและมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงองค์ความรู้หลัก สอด รับ ต่อเนื่องกันอย่างเป็นระบบ สามารถจัดการเรียนการสอนได้ทุกชั้นปี เพื่อพัฒนาบัณฑิตให้เป็นผู้ที่ : - มีความรู้ความสามารถ (Competences) - มีทักษะสังคมและชีวิต (Social and Life Balance) - มีความสามารถที่เป็นสากล (Globally Talented) - มีความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Mindset) - มีความรับผิดชอบต่อสังคม (Socially Engaged)

ขอบเขตการดำเนินการ (ต่อ) 4. ตัวอย่างรูปแบบดำเนินการ (ต่อ) รูปแบบที่ 3 การอุดมศึกษาเพื่อสร้างสมรรถนะ และหรือความรู้พื้นฐาน ใหม่ที่ต้องบูรณาการข้ามศาสตร์สาขาวิชาชีพเดิมที่มีอยู่ของศตวรรษที่ 20 ตอบโจทย์ภาคการผลิตสู่ New S-Curve >> จัดการศึกษาที่เน้นการสร้างความสามารถและหรือสมรรถนะที่ หลากหลาย จากการศึกษาองค์ความรู้บูรณาการข้ามศาสตร์สาขา วิชาชีพ และสามารถ พัฒนาต่อยอดด้วยตนเอง เป็นกาลังคนที่สร้าง ประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรและ ประเทศได้

ขอบเขตการดำเนินการ (ต่อ) 4.ตัวอย่างรูปแบบดำเนินการ (ต่อ) รูปแบบที่ 4 การอุดมศึกษาเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ตามความต้องการของผู้เรียน เป็นรายบุคคล (Personalized Based Education) >> จัดการศึกษาทั้งระบบทุกภาคส่วนของสถาบันที่สามารถตอบโจทย์การ เรียนรู้เพื่อพัฒนา ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ตอบสนองความต้องการ ายบุคคล เป็นวิธีการที่สามารถทําได้จริงตามที่ ออกแบบไว้และตรวจสอบได้

ขอบเขตการดำเนินการ(ต่อ) รูปแบบที่ 5 รูปแบบอื่นๆ >> จัดการศึกษาในรูปแบบที่สามารถทําได้จริงตามวัตถุประสงค์และขอบเขต ที่กําหนดไว้ใน โครงการนี้ และสามารถตรวจสอบได้

ขอบเขตการดำเนินการ (ต่อ) กลุ่มเป้าหมาย - เป็นผู้ที่ทางานอยู่แล้ว หรือต้องการ ปรับเปลี่ยน สมรรถนะที่มีอยู่เดิมไปสู่สมรรถนะ ที่ตอบโจทย์ กําลังคนเร่งด่วน เพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ สําคัญในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ - เป็นผู้ที่จบ ม.ปลาย ปวช. ปวส. หรืออนุปริญญา หรือ ที่กําลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในปัจจุบัน เพื่อให้มีทักษะและสมรรถนะในการเรียนรู้ด้วย ตนเอง และทักษะในศควรรษที่ 21 เพื่อให้มีความสามารถใน การทํางานได้หลากหลาย ตามความต้องการของ ผู้เรียน และตอบโจทย ภาคอุตสาหกรรมและสถาน ประกอบการ

วิธีการและขั้นตอนการดําเนินการ

วิธีการและขั้นตอนการดําเนินการ สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับคัดเลือกต้องดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาด้านการจัดการเรียนการสอนสู้อาจารย์มืออาชีพ ทั้งในระบบสั้นและระยะยาว

เกณฑ์การคัดเลือก มุ่งแสวงหาข้อเสนอที่มีความพร้อมสามารถดําเนินการได้จริง และมีความเป็นไปได้สูง โดยมีหลักการสําคัญ ดังนี้ - เป็นไปตามนโยบายการปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและการพัฒนาประเทศไทย(Thailand 4.0) - เป็นการสร้างบัณฑิตพันธุ์ใหม่ และกำลังคนที่มีสมรรถนะและทักษะซึ่งสามารถตอบโจทย์การ พัฒนาของประเทศ ด้านอุตสาหกรรม เป้าหมาย และการเกษตรก้าวหน้า (Smart Farming) - มีความพร้อมและความเป็นไปได้ที่จะเริ่มดําเนินการตามเวลาที่กําหนด

เกณฑ์การคัดเลือก (ต่อ) 1. หลักสูตรและการจัดการศึกษา 2. กระบวนการจัดการเรียนการสอน 3. หน่วยงานภาคีร่วมจัดการเรียนการสอน 4. การเตรียมการและพัฒนาคณาจารย์ 5. ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนและวิธีวัดผล 6. ปริญญาบัตรหรือวุฒิบัตร (Degree/Non-degree) 7. กลุ่มเป้าหมายหรือผู้เรียน 8. การรับนักศึกษาและเปิดสอนตามหลักสูตร

แผนการดําเนินงานและระยะเวลาในการดําเนินงาน ระยะเวลาดำเนินการ กิจกรรม 29 ม.ค. 2551 ประชุมเตรียมความพร้อมการจัดท่าขอเสนอโครงการ 7 ก.พ. 2561 ประชุมพิจารณาข้อเสนอโครงการฯ 15 ก.พ. 2561 ประชุมร่วมกับภาคเอกชน ประธานสภาอุตสาหกรรม สภาหอการ ไทย(เวลา 16.00 น.) 19 ก.พ. 2561 ประชุมชี้แจงข้อเสนอโครงการฯ ให้สถาบันอุดมศึกษารับไปดําเนินการจัดทําโครงการฯ (เวลา 13.30 น.) สัปดาห์ที่ 34 ก.พ. 2561 สถาบันอุดมศึกษาดำเนินการจัดทําโครงการฯ สัปดาห์ที่ 1-2 มี.ค. 2561 สถาบันอุดมศึกษาเสนอโครงการฯ ไปยัง สกอ. รางผานความเห็นชอบหรือการอนุมัติจากสภาสถาบันอุดมศึกษา สัปดาห์ที่ 3-4 มี.ค. 2561 คณะกรรมการคัดเลือกหลักสูตรที่ได้ตามข้อกําหนดฯ และประกาศฯ สัปดาห์ที่ 1 เม.ย. 2561 นําเสนอโครงการเข้า ครม. เพื่อสนับสนุนโครงการและงบประมาณ พ.ศ. 2551 พ.ค. 2561 TCAS การสอบคัดเลือกรับนักศึกษารอบ 3 ส.ค. 2561 จัดการเรียนการสอน ส.ค. 2561 – ก.ค. 2561 คณะกรรมการติดตามการดําเนินงานและประเมินผลความสําเร็จของโครงการระยะสั้น ตั้งแต่เริ่มต้นการจัดการเรียนการสอนจนจบการศึกษา คณะกรรมการติดตามความก้าวหน้าการต่างเนินงานและหลักสูตรการจัดการเรียน การจัดการเรียนการสอน การสอนตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และผลการเรียนรู้รายปี จนสําเร็จ จนจบการศึกษา การศึกษา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้บัณฑิตพันธุ์ใหม่ปีละสองล้านคน และกําลังคนทุกช่วงอายุของ ประเทศจํานวนยี่สิบล้านคน เป็นผู้ที่มี ทักษะ มีสมรรถนะและศักยภาพสูง อาทิ มีทักษะด้านภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม มีสมรรถนะในการ ปรับตัวและแสวหา ความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง สามารถทํางานที่หลากหลายได้ เป็นการตอบ โจทย์ ภาคอุตสาหกรรมและสถานประกอบการตามนโยบายการปฏิรูปอุดมศึกษา ไทยสู่ New S-Curve เป็นการเร่งด่วนได้ สถาบันอุดมศึกษาไทยได้ปฏิรูปสู่อุดมศึกษาแห่งอนาคต โดยการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตบัณฑิต พันธุ์ใหม่ที่มีสมรรถนะและศักยภาพสูง เน้นความ ร่วมมือกับภาคเอกชนหรือภาคอุตสาหกรรมแบบครบ วงจรและเข้มขันรองรับการ พัฒนาประเทศเพื่อให้การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (New Growth Engines) ของ ประเทศอย่างก้าวกระโดด