การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ (Teaching Behavior in Mathematics)
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติและ
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญ ของการสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ
องค์ประกอบสำคัญของแผนจัดการเรียนรู้ 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (Objectives) 1.1 ความรู้(knowledge) 1.2 ทักษะกระบวนการ(process)
ประเมินผลการจัดกิจกรรม โครงการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
หลักการเขียนเกณฑ์การประเมิน(Rubrics)
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
Performance Skills By Sompong Punturat.
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญ ของการสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน หน่วยที่ 5 การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การประยุกต์ใช้การประเมินภาคปฏิบัติในวัดและประเมินผลในชั้นเรียน มาตรฐานและตัวชี้วัด ตามหลักสูตรฯ การประเมินเพื่อปรับปรุงและพัฒนา (Formative Assessment) การประเมินเพื่อตัดสินผล การเรียน (Summative Assessment) หน่วยที่ 1 หน่วยที่.... หน่วยที่... สอบกลางภาค/ปีการศึกษา สอบปลายภาค/ปีการศึกษา ชิ้นงาน/ภารกิจ การประเมินภาคปฏิบัติ

ตัวชี้วัดเน้นด้านผลงาน (Product) สร้างงานทัศนศิลป์ต่าง ๆ โดยใช้ทัศนธาตุที่เน้นเส้น รูปร่าง วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึกของตนเอง เล่นกีฬาไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ ๑ ชนิด เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วมกิจกรรมทางกายที่ใช้การเคลื่อนไหวตามธรรมชาติ

ตัวชี้วัดเน้นกระบวนการ (Process) เคลื่อนไหวร่างกายขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ ใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือในการทำงานอย่างเหมาะสมกับงานและประหยัด ปฏิบัติตามกฎ กติกาและข้อตกลงของการออกกำลังกาย การเล่นเกม การละเล่นพื้นเมืองได้ด้วยตนเอง ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาด ความรอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดเน้นด้านกระบวนการและผลงาน (Process & Product) ทดลองและอธิบาย น้ำ แสง เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืช อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน

เครื่องมือในการประเมินภาคปฏิบัติ ทักษะกระบวนการ (Process & skill) แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) มาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) ระเบียนพฤติการณ์ (Anecdotal Record) แบบตรวจสอบผลงาน (Evidence check) เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubric) (ต้องสอดคล้องกับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด)

เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics) เป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการประเมินทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน (Procedure) และผลงานจากการปฏิบัติ (Product) เพื่อกำหนดแนวทางในการตัดสินอย่างยุติธรรม และปราศจากความลำเอียงจากผู้ตรวจให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนนจึงต้องมีความชัดเจนอย่างพอเพียง เพื่อให้ผู้ประเมินทุกคนสามารถใช้เกณฑ์การให้คะแนนเดียวกันประเมินชิ้นงานของผู้เรียนชิ้นเดียวกันแล้วให้คะแนนได้ตรงกัน

แบบภาพรวม (Holistic Rubrics) แบบแยกส่วน (Analytic Rubrics) เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics) แบบภาพรวม (Holistic Rubrics) แบบแยกส่วน (Analytic Rubrics)

เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Rubrics) เป็นแนวทางการให้คะแนนโดยพิจารณาจากภาพรวมของชิ้นงาน  มีคำอธิบายลักษณะของงานในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน การให้คะแนนจะพิจารณาผลรวมหรือภาพรวมทั้งหมด

เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytic Rubrics) เป็นแนวทางการให้คะแนนโดยพิจารณาจากแต่ละส่วนของงาน  ซึ่งแต่ละส่วนจะต้องกำหนดแนวทางการให้คะแนนโดยมีคำนิยามหรือคำอธิบายลักษณะของงานส่วนนั้นๆ ในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน

ขั้นตอนการเขียนเกณฑ์การให้คะแนน ศึกษางาน (Task) ที่ต้องการประเมิน กำหนดประเด็นการประเมิน กำหนดลักษณะการปฏิบัติ ของแต่ละระดับคุณภาพ

เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Rubrics) ตัวอย่าง เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Rubrics)

การประเมินมารยาทบนโต๊ะอาหาร ภาระงาน ประเด็น ระดับคุณภาพ มารยาท บนโต๊ะอาหาร 1. การรับประทานอาหาร 2. การพูดคุยบนโต๊ะอาหาร 3 = ทานอาหารโดยใช้ช้อน ส้อมถูกวิธี ไม่วางช้อนส้อมเสียงดัง ตักอาหารโดยใช้ช้อนกลาง และตักอาหารพอดีคำ ไม่เคี้ยวอาหารเสียงดัง บริการอาหารแก่ผู้อื่นที่ห่างจากอาหาร ไม่พูดขณะอาหารอยู่ในปาก ไม่พูดเรื่องหวาดเสียวหรือเรื่องไม่สุภาพ ใช้ภาษาที่สุภาพ 2 = ทานอาหารโดยใช้ช้อนส้อม ไม่วางช้อนส้อมเสียงดัง ตักอาหารโดยใช้ช้อนกลาง และตักอาหารพอดีคำ ไม่เคี้ยวอาหารเสียงดัง บริการอาหารแก่ผู้อื่นที่ห่างจากอาหารบ้าง ไม่พูดขณะอาหารอยู่ในปาก พูดเรื่องหวาดเสียว หรือเรื่องไม่สุภาพ 1 = ทานอาหารโดยใช้ช้อนส้อม แต่วางช้อนส้อมเสียงดัง ตักอาหารโดยใช้ช้อนกลาง เคี้ยวอาหารเสียงดัง พูดขณะอาหารอยู่ในปาก พูดเรื่องหวาดเสียว หรือเรื่องไม่สุภาพ

เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytic Rubrics) ตัวอย่าง เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytic Rubrics)

การประเมินมารยาทบนโต๊ะอาหาร ภาระงาน ประเด็นการประเมิน รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 3 2 1 มารยาท บนโต๊ะอาหาร การรับประทานอาหาร 1) ใช้ช้อนส้อมถูกวิธี 2) ใช้ช้อนกลางตักอาหารทุกครั้ง 3) ตักอาหารไม่หก 4) ตักอาหารพอดีคำ 5) ไม่เคี้ยวอาหารเสียงดัง ปฏิบัติครบทุกรายการ ไม่สมบูรณ์ 1 รายการ ไม่สมบูรณ์ มากกว่า 1 รายการ การพูดคุย 1) ไม่พูดขณะอาหารอยู่ในปาก 2) ไม่พูดเรื่องหวาดเสียว หรือเรื่องไม่สุภาพ ไม่สมบูรณ์ทั้ง 2 รายการ