คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Efficiency & Economy DRMC. ทางเลือก INPUTS OUTPUTS Land, Labor, Capital Consumer Goods Defense Goods Investment Items, etc..
Advertisements

โครงการยกระดับมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงปลานิลเพื่อการส่งออก
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
หลักสูตร การผลิตพืชตามระบบ การรับรองมาตรฐาน GAP
1 ประกาศสำนักงานมาตรฐานสินค้า เกษตรและอาหารแห่งชาติ เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์การใช้ชื่อย่อ ของมาตรฐานสินค้าเกษตร ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 15 พฤศจิกายน.
การปฏิบัติตามข้อกำหนดมาตรฐาน ASEAN GAP
ณ วันที่ 30 มิถุนายน ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง.
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
เครื่องมือชุดธารปัญญา: แนวคิดและการประยุกต์ใช้
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค กุมภาพันธ์ 2554
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ __________________________________________________________________________________________________________________________________________.
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH
GOOD FARMING MANAGEMENT (GFM)
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
การดำเนินการ CIPO Sepsis เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
Roadmap AUNQA หลักสูตร
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
ระบบส่งต่อผู้ป่วย เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน จัดทำคู่มือการส่งต่อ
คู่มือการเขียนวิจัย R2R ฉบับย่อสำหรับนักวิจัยหน้าใหม่
ITA Integrity and Transparency Assessment
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558
ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2561 วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา – น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ความเสี่ยงเรื่อง เงินตราต่างประเทศ
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
สถาบันส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรม
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
โครงการกำจัดโรคหัด.
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
แนวทางการปรับปรุงการทำงาน ด้านการส่งเสริมการผลิตข้าว ปีงบประมาณ 2561
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
นโยบาย/แนวทางพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมโรคมะเร็ง จังหวัดศรีสะเกษ นางสาววิลาวัลย์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ. ศ
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินงาน ส่งเสริมการเกษตร ปี ๒๕๕๓ /๕๔ สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองเชียงใหม่

คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่ ดอยสุเทพ ศูนย์รวมใจ อนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย รวมศรัทธา ภูพิงค์สูงเสียดฟ้า ศูนย์ล้านนาในอดีต ประเพณี จารีตน่าชื่นชม งามสายสมน้ำแม่ปิง

วิสัยทัศน์ ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย พัฒนาครอบครัวเกษตรกรให้เข้มแข็งและมีสุขอย่างยั่งยืน

พันธกิจ 1. ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตร 2. ส่งเสริมการผลิตและจัดการสินค้าเกษตร ให้ปลอดภัยได้มาตรฐาน 3. ส่งเสริมและพัฒนาครอบครัวเกษตรกร ให้พึ่งพาตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี อาชีพมั่นคง

ยุทธศาสตร์ 1. การพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งเสริมการเกษตร 2. การส่งเสริมการผลิตและจัดการสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน 3. การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร ครอบครัวเกษตรกร และองค์กรเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งและมั่นคงในอาชีพ 4. การป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร

หน้าที่ 1. ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร องค์กรเกษตรกรและวิสาหกิจเกษตร ของชุมชน 2. ส่งเสริมและประสานถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิต การจัดการผลผลิตพืช ประมง และปศุสัตว์ 3. กำกับ ดูแล และสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานระดับตำบล 4. ปฏิบัติงานร่วมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย 5. เป็นนายทะเบียนวิสาหกิจชุมชนอำเภอ ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548

โครงสร้างการบริหารงาน สนง.เกษตรอำเภอเมืองเชียงใหม่ นายชูศักดิ์ เทพสาร เกษตรอำเภอเมืองเชียงใหม่ งานบริหารทั่วไป และธุรการ - นางโรซา พิกุลทอง เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน - นางสาวอำไพ ใจซาว เจ้าพนักงานธุรการ - นางฐนจงพร เนียมทอง พนักงานทั่วไป 1 งานส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร - นางกอบกุล สุริยะ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ - นายนันทิวัฒน์ ศรีคาน นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ งานส่งเสริมและพัฒนาการผลิต - นายนิคม ไชยวุฒิ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ - นายนิเคน เสนาธรรม งานยุทธศาสตร์และสารสนเทศ นางสาวชฎารัตน์ เมฆเจริญ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ

เกษตรอำเภอเมืองเชียงใหม่ นายชูศักดิ์ เทพสาร เกษตรอำเภอเมืองเชียงใหม่

งานบริหารทั่วไป และธุรการ นางโรซา พิกุลทอง นางสาวอำไพ ใจซาว นางฐนจงพร เนียมทอง เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน เจ้าพนักงานธุรการ พนักงานทั่วไป 1

งานส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร นางกอบกุล สุริยะ นายนันทิวัฒน์ ศรีคาน นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ

งานส่งเสริมและพัฒนาการผลิต นายนิคม ไชยวุฒิ นายนิเคน เสนาธรรม นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ

งานยุทธศาสตร์และสารสนเทศ นางสาวชฎารัตน์ เมฆเจริญ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ

อัตรากำลัง ข้าราชการ ๗ ราย ลูกจ้างประจำ ๑ ราย พนักงานราชการ ๑ ราย ข้าราชการ ๗ ราย ลูกจ้างประจำ ๑ ราย พนักงานราชการ ๑ ราย รวม ๙ ราย

ข้อมูลครัวเรือน/ประชากรอำเภอเมืองเชียงใหม่ ข้อมูลพื้นฐานการเกษตรอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี 2554 ที่ ตำบล ครัวเรือนทั้งหมด ครัวเรือนเกษตรกร พื้นที่ทั้งหมด(ไร่) จำนวนพื้นที่การเกษตร(ไร่) ที่นา ไม้ผล-ไม้ยืนต้น ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผัก อื่นๆ รวม 1 สันผีเสื้อ 6,114 514 7,511 1,677 538 11 169   2,395 2 ท่าศาลา 2,826 80 3,563 150 130 15 48 38 381 3 ช้างเผือก 2,172 94 18,188 85 44 9 138 4 แม่เหียะ 10,380 522 15,253 389 657 5 สุเทพ 7,882 197 10,935 102 1,169 60 1,331 6 หนองหอย 4,033 72 2,530 19 55 89 7 ป่าแดด 7,708 299 15,625 54 56 491 8 หนองป่าครั่ง 3,930 76 1,842 40 46

ข้อมูลครัวเรือน/ประชากรอำเภอเมืองเชียงใหม่(ต่อ) ข้อมูลพื้นฐานการเกษตรอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี 2554 ที่ ตำบล ครัวเรือนทั้งหมด ครัวเรือนเกษตรกร พื้นที่ทั้งหมด(ไร่) จำนวนพื้นที่การเกษตร(ไร่) ที่นา ไม้ผล-ไม้ยืนต้น ไม้ดอก-ไม้ประดับ พืชผัก อื่นๆ รวม 9 ฟ้าฮ่าม 4,239 138 1,769 2 252 3   259 10 ป่าตัน 1,670 112 3,025 55 91 23 179 11 หายยา 12 ศรีภูมิ 26 13 พระสิงห์ 14 ช้างคลาน 19 15 ช้างม่อย 16 วัดเกตุ 50,954 2,212 80,241 2,138 3,058 119 581 70 5,966

พื้นที่ทำการเกษตร ไร่ ข้อมูลด้านการเกษตร พื้นที่ทำการเกษตร ไร่ 581 ไร่ 119 ไร่ 70 ไร่ 2,138 ไร่ 3,058 ไร่

พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ข้าวเหนียว 672 ไร่ ข้าวเจ้า 1105 ไร่ ลำไย 1854 ไร่ ข้าวเหนียว 672 ไร่ ข้าวเจ้า 1105 ไร่ ลำไย 1854 ไร่ พืชผัก 581 ไร่ ลิ้นจี่ 1334 ไร่ กาแฟ 118 ไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ 119 ไร่

ข้อมูลกลุ่ม/องค์กรเกษตรกร เกษตรหมู่บ้าน 77 คน กลุ่มอาชีพ 6 กลุ่ม สมาชิก 131 คน กลุ่มแม่บ้านฯ 48 กลุ่ม สมาชิก 807 คน กลุ่มยุวเกษตรกร-ในโรงเรียน 7 กลุ่ม สมาชิก 248 คน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน 86 กลุ่ม สมาชิก 1338 คน กลุ่มสายใยรักแห่งครอบครัว 4 กลุ่ม สมาชิก 139 คน

ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน โครงการ/งบประมาณ ส่งเสริมการเกษตร ปี 2554 งบประมาณ ทั้งสิ้น ๒๒๑,๐๐๐ บาท เบิกจริง ๒๐๓,๐๐๐ บาท ๑. โครงการบริหารจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร ๒๖,๐๐๐ บาท ๒. โครงการบริหารจัดการสินค้าเกษตร ๓๒,๐๐๐ บาท ๓. โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ๖๓,๐๐๐ บาท ๔. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานส่งเสริมการเกษตร ๑๕,๔๐๐ บาท ๕. โครงการพัฒนาข้อมูลการเกษตร ๗,๒๐๐ บาท ๖. โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒๓,๐๐๐ บาท ๗. โครงการพัฒนาองค์กรเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน ๒๖,๔๐๐ บาท ๘. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปผลผลิตเกษตร ๑๐,๐๐๐ บาท ๙. โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ๑๘,๐๐๐ บาท (จังหวัดเบิกจ่าย )

๑. โครงการบริหารจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร ๒๖,๐๐๐ บาท อบรมเกษตรกรในศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนดำเนินการในตำบลสันผีเสื้อ เกษตรกร 30 ราย งบประมาณ 6,000 บาท อยู่ระหว่างดำเนินการ จัดซื้อวัสดุในการเรียนรู้การผลิตขยายศัตรูพืชธรรมชาติและเชื้อจุลินทรีย์ 1 ศูนย์ งบประมาณ 16,000 บาท อยู่ระหว่างการดำเนินการ จัดทำแปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืชและเตือนการระบาดในพื้นที่จำนวน 1 แปลง งบประมาณ 400 บาท

๒. โครงการบริหารจัดการสินค้าเกษตร ๓๒,๐๐๐ บาท - ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตผลไม้ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมแก่เกษตรกร กิจกรรมการผลิตลิ้นจี่นอกฤดูตำบลช้างเผือกและตำบลสุเทพ เกษตรกร 50 ราย งบประมาณ 18,000 บาท ดำเนินการเสร็จแล้ว - สนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จำเป็นในการดำเนินการจัดทำแปลงสาธิตการผลิตลิ้นจี่ นอกฤดู จำนวน 1 แปลง งบประมาณ 14,000บาท อยู่ระหว่างการดำเนินการ

๓. โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ๖๓,๐๐๐ บาท - อบรมเตรียมความพร้อมเกษตรกรหลักสูตรระบบการผลิตตามมาตรฐาน GAP พืช/ข้าว เกษตรร่วมโครงการจำนวน 70 ราย งบประมาณ 24,500 บาท ดำเนินการเสร็จแล้ว - ติดตามให้คำปรึกษาและประเมินแปลงเบื้องต้นโดยเจ้าหน้าที่ปรึกษา จำนวน 25 แปลง งบประมาณ = 4,250 บาท อยู่ระหว่างการดำเนินการ - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุนการผลิตกาแฟงบประมาณ = 34,250

กิจกรรมที่ 1 จัดเวทีชุมชนเพื่อวิเคราะห์พื้นที่เกษตรกร 25 ราย งบประมาณ 5,000 บาท (ตำบลช้างเผือกขุนช่างเคี่ยน) ดำเนินการเสร็จแล้ว กิจกรรมที่ 2 ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการปรับปรุงสวนกาแฟที่ให้ผลผลิตต่ำ/เสื่อมโทรม เกษตรกร 25 ราย งบประมาณ 15,000 บาท (ขุนช่างเคี่ยน) อยู่ระหว่างดำเนินการ กิจกรรมที่ 3 ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการพัฒนาการผลิตผลผลิตกาแฟให้ได้มาตรฐาน เกษตรกร 25 ราย งบประมาณ 14,250 บาท (ขุนช่างเคี่ยน)

๔. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานส่งเสริมการเกษตร ๑๕,๔๐๐ บาท พัฒนาศักยภาพเกษตรกรหมู่บ้าน จำนวน 77 ราย งบประมาณ 15,400 ดำเนินการเสร็จแล้ว

๕. โครงการพัฒนาข้อมูลการเกษตร ๗,๒๐๐ บาท - พัฒนาข้อมูลการเกษตรโดยการจ้างเหมาบริการอินเตอร์เน็ต จำนวน 1 จุด งบประมาณ 7,200 บาท อยู่ระหว่างดำเนินการ

๖. โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒๓,๐๐๐ บาท - อบรมพัฒนาอาสาสมัครเกษตร จำนวน 77 ราย งบประมาณ 15,400 บาท อยู่ระหว่างการดำเนินการ - อบรมเกษตรกรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงการเกษตร (โดยบูรณาการกรมพัฒนาชุมชน) เกษตรกรจำนวน 19 ราย งบประมาณ 7,600 บาท หมู่ที่ 13 ตำบลสุเทพ บ้านสันลมจอย ดำเนินการเสร็จแล้ว

๗. โครงการพัฒนาองค์กรเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน ๒๖,๔๐๐ บาท - พัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร อบรมถ่ายทอดความรู้ให้สมาชิกยุวเกษตรกรในโรงเรียนแม่เหียะจำนวน 27 ราย งบประมาณ 4,400 บาท ดำเนินการเสร็จแล้ว - สนับสนุนวัสดุสาธิตการทำเห็ดนางฟ้าให้สมาชิกยุวเกษตรกรจำนวน 1 กลุ่ม งบประมาณ 1,200 บาท ดำเนินการเสร็จแล้ว - ประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนอำเภอที่แต่งตั้งโดยคณะกรรมารส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจำนวน 2 ครั้ง งบประมาณ 3,800 บาท ดำเนินการเสร็จแล้ว

- ค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูลระบบสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน จำนวน 1,000 บาท ดำเนินการเสร็จแล้ว - ส่งเสริมการจัดทำแผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชนและพัฒนาทักษะด้านการผลิตและการตลาดให้แก่สมาชิกวิสาหกิจชุมชน จำนวน 40 ราย งบประมาณ 16,000 บาท ดำเนินการเสร็จแล้ว

๘. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปผลผลิตเกษตร ๑๐,๐๐๐ บาท - อบรมสุขลักษณะที่ดีในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เกษตรกร 25 ราย งบประมาณ 10,000 บาท ดำเนินการเสร็จแล้ว

๙. โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ๑๘,๐๐๐ บาท (จังหวัดเบิกจ่าย ) - ดำเนินการที่ตำบลสันผีเสื้อ เกษตรกรเป้าหมาย 180 ราย งบประมาณ 18,000 บาท (จังหวัดดำเนินการแล้ว) ดำเนินการเสร็จแล้ว

๑. งบประมาณที่ได้รับ = ๒๒๑,๐๐๐ บาท ๒. เบิกแล้ว = ๑๒๔,๙๐๐ บาท = ๕๖.๕๒% ๓. ยังไม่ได้เบิก = ๙๖,๑๐๐ บาท = ๔๓.๔๘%

แผนงาน/งบประมาณองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ปี ๒๕๕๔ ๑ โครงการส่งเสริมการทำปุ๋ยหมักแบบไม่กลับกอง (อินทรีย์ชีวภาพ) งบประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ บาท เป้าหมายเกษตรกร ๑๐๐ ราย พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสันผีเสื้อ,ตำบลฟ้าฮ่าม,ตำบลช้างเผือก,ตำบลสุเทพ ๒ โครงการส่งเริมการปลุกผักปลอดภัยจากสารพิษในโรงเรือน งบประมาณ ๒๔๐,๐๐๐ บาท เป้าหมายเกษตรกร ๕๐ ราย พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสันผีเสื้อ ตำบลฟ้าฮ่าม

สวัสดี