รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่นระดับจังหวัด
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
รายงานผลการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH)
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์พิทยา ไพบูลย์ศิริ
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา
ก้าวต่อไปในการดำเนินงานโครงการสำคัญ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
คู่มือ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สำหรับ Child & Family Team (CFT) เขตสุขภาพที่ 9.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
สรุปผลการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
การติดตาม (Monitoring)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอสัตหีบ มี ทั้งหมด 6 แห่ง รพ.สต.บ้านเขาคันธมาทน์ รพ.สต.บ้านเตาถ่าน รพ.สต.บ้านช่องแสมสาร รพ.สต.นาจอมเทียน รพ.สต.บางเสร่ รพ.สต.บ้านโค้งวันเพ็ญ

ประเมินปี 58

ประเมินปี 59

รพ.สต.บ้านเขาคันธมาทน์

รพ.สต.บ้านเขาคันธมาทน์ การติดตามเมื่อส่งคนมายัง รพ. กรณี รพ.ต้องส่งต่อไปยัง รพ.อื่นอีก อสม.ตอบไม่ถูกคำถาม “แม่ไปทำงาน เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างไร” การให้ความรู้แบบ พ่อและแม่ /ญาติ มีส่วนร่วม ระบบส่งต่อ การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนหลังฉีดวัคซีน ผู้ปกครองไม่ทราบว่าวันนี้ลูกฉีดวัคซีนอะไร การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน หญิงตั้งครรภ์ไม่ทราบประโยชน์การมาตรวจภายใน การแก้ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ การให้ความรู้แบบหญิงตั้งครรภ์และสามี/ญาติ มีส่วนร่วม การวิเคราะห์สถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก

รพ.สต.บ้านเขาคันธมาทน์ ขณะทำงานที่ รพ.สต.นี้ ได้รับการฝึกอบรมเรื่องเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

รพ.สต.บ้านเขาคันธมาทน์ 7.1 ร้อยละความครอบคลุมการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ จำนวนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ในพื้นที่ทั้งหมด (A) จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (B) ร้อยละ(Ax100/B) 52 28 53.84 7.2 ร้อยละความครอบคลุมหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ ฝากครรภ์เจาะเลือดครั้งแรกทั้งหมด (A) จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ ฝากครรภ์ครั้งแรกมีภาวะโลหิตจาง (B) ร้อยละ (Ax100/B) 2 3.84 7.3 อัตรามารดาวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี คลอดต่อพันประชากร 15-19 ปี จำนวนหญิงอายุ 15-19 ปี ในพื้นที่ทั้งหมด (A) จำนวนมารดาวัยรุ่นอายุระหว่าง 15-19 ปี คลอด (B) 345 5 1.44 7.4 ร้อยละความครอบคลุมมารดาหลังคลอดได้รับการติดตามเยี่ยมครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ จำนวนมารดาหลังคลอด ในพื้นที่ทั้งหมด (A) จำนวนมารดาหลังคลอดในพื้นที่ได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอด ครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ (B) 38 32 84.2

รพ.สต.บ้านเขาคันธมาทน์ 7.5 ร้อยละความครอบคลุมมารดาที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน จำนวนมารดาหลังคลอดครบ 6 เดือน ในพื้นที่ทั้งหมด (A) จำนวนมารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน (B) ร้อยละ (Ax100/B) 38 18 47.36 7.6 ร้อยละความครอบคลุม เด็กอายุ 9 ,18, 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ จำนวนเด็กอายุ 9 ,18, 30 และ 42 เดือน ในพื้นที่ทั้งหมด (A) จำนวนเด็กอายุ 9 ,18, 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรอง ทั้งหมด (B) 294 275 93.53 7.7 ร้อยละความครอบคลุม เด็กอายุ 9 ,18, 30 และ 42 เดือน ที่มีพัฒนาการล่าช้า จำนวนเด็กอายุ 9 ,18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการทั้งหมด (A) จำนวนเด็กอายุ 9 ,18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพบพัฒนาการล่าช้า (B) 9 3.27

รพ.สต. บ้านเตาถ่าน

รพ.สต.บ้านเตาถ่าน เอกสารหลักฐานเช่น รายงานการประชุมการมีส่วนร่วมจากชุมชนและภาคีเครือข่าย การประชุมสมาชิกชมรมเกี่ยวกับแม่และเด็ก การประเมินสุขภาพจิตหญิงตั้งครรภ์ การบันทึกการตรวจเต้านมในแบบบันทึกสมุดสุขภาพ ทะเบียน รร.พ่อแม่/การประเมินหลังให้ความรู้ การวิเคราะห์สถานการณ์หาสาเหตุและวางแผนปรับปรุงแก้ไข วัสดุ อุปกรณ์ ในการส่งเสริมพัฒนาการยังไม่หลากหลายชนิดตามกลุ่มวัย ผู้ปกครองไม่ทราบว่าลูกฉีดวัคซีนอะไร

รพ.สต.บ้านเตาถ่าน

รพ.สต.บ้านเตาถ่าน 7.1 ร้อยละความครอบคลุมการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ จำนวนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ในพื้นที่ทั้งหมด (A) จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (B) ร้อยละ(Ax100/B) 30 12 40 7.2 ร้อยละความครอบคลุมหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ ฝากครรภ์เจาะเลือดครั้งแรกทั้งหมด (A) จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ ฝากครรภ์ครั้งแรกมีภาวะโลหิตจาง (B) ร้อยละ (Ax100/B) 30 10 33.33 7.3 อัตรามารดาวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี คลอดต่อพันประชากร 15-19 ปี จำนวนหญิงอายุ 15-19 ปี ในพื้นที่ทั้งหมด (A) จำนวนมารดาวัยรุ่นอายุระหว่าง 15-19 ปี คลอด (B) ร้อยละ (Ax100/B) 410 12 2.92 7.4 ร้อยละความครอบคลุมมารดาหลังคลอดได้รับการติดตามเยี่ยมครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ จำนวนมารดาหลังคลอด ในพื้นที่ทั้งหมด (A) จำนวนมารดาหลังคลอดในพื้นที่ได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอด ครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ (B) ร้อยละ (Ax100/B) 51 48 94.12

รพ.สต.บ้านเตาถ่าน 7.5 ร้อยละความครอบคลุมมารดาที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน จำนวนมารดาหลังคลอดครบ 6 เดือน ในพื้นที่ทั้งหมด (A) จำนวนมารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน (B) ร้อยละ (Ax100/B) 110 39 35.45 7.6 ร้อยละความครอบคลุม เด็กอายุ 9 ,18, 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ จำนวนเด็กอายุ 9 ,18, 30 และ 42 เดือน ในพื้นที่ทั้งหมด (A) จำนวนเด็กอายุ 9 ,18, 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรอง ทั้งหมด (B) ร้อยละ (Ax100/B) 30 27 90 7.7 ร้อยละความครอบคลุม เด็กอายุ 9 ,18, 30 และ 42 เดือน ที่มีพัฒนาการล่าช้า จำนวนเด็กอายุ 9 ,18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการทั้งหมด (A) จำนวนเด็กอายุ 9 ,18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพบพัฒนาการล่าช้า (B) ร้อยละ (Ax100/B) 27 3 11.11

ปัญหาและอุปสรรค เจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ มีการโยกย้าย ทำให้การดำเนินงานไม่ต่อเนื่อง ผู้รับบริการย้ายที่อยู่ ทำให้การรับบริการไม่ต่อเนื่อง ทีมประเมินขาดประสบการณ์ในการประเมิน

ข้อเสนอแนะ ให้เจ้าหน้าที่มีการเรียนรู้งาน และเพื่อให้สามารถทดแทนงานได้ทุกคน เครือข่าย อสม. มีส่วนร่วมในการติดตาม เพื่อให้ได้รับบริการ ครอบคลุม แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ทักษะ ระหว่างทีมประเมิน

จุดเด่น ผู้บริหารในระดับ รพ.สต. และ อปท. ให้ความสำคัญกับ การดำเนินงาน รพ.สต.สายใยรัก มีระบบบริการที่เข้าถึงได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว โดย จัดบริการฝากครรภ์ทุกวัน มีภาคีเครือข่าย เช่น อปท. อสม. ที่เข้มแข็ง ผ่านการประเมินตำบลนมแม่