ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
รูปแบบของการจัดเก็บข้อมูล. รูปแบบการจัดเก็บข้อมูล แบบ Sector Sampling.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางสาววริศรา ไชยโย ผู้วิจัย การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เอกชน ประเภทอาชีวศึกษา (Development of a Training Package.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค ผลการสำรวจทัศนคติ ความเห็นของประชาชน DDC Poll ครั้งที่ 12 “ เรื่อง … รู้จักและเข้าใจโรคไข้หวัดใหญ่ 31 มีนาคม 2558.
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ e- meeting วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555.
จรรยาบรรณ ( Code of Ethic) กลุ่มบริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด R.X.Group ประกาศต่อผู้บริหารระดับสูง - ต้น 270 คน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 ณ S.D. Avenue Hotel.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
การหาความสัมพันธ์ของตัวแปร
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
องค์กรนวัตกรรม ROYAL VETERINARY COLLEGE UNIVERSITY OF LONDON
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ประเภทของสุ่มตัวอย่าง
การทดสอบสมมติฐาน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดา จังหวัดร้อยเอ็ด
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
Dr. Luckwirun Chotisiri College of Nursing and Health, ssru
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การจัดการผู้ป่วยรายกรณีเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ นางกรรณิการ์
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
Students’ Attitudes toward the Use of Internet
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Miss. Teeranuch Sararat Teerapada Technological College
นายกิตติพงษ์ สว่างลาภ วท.บ., บธ.บ., ศศ.บ., วท.ม.
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
Don Bosco Banpong Technological College
Don Bosco Banpong Technological College
พระพุทธศาสนา.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
กระบวนการเรียนการสอน
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
บทที่ 15 พัลส์เทคนิค
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
คณิตศาสตร์ ม.6 เทอม 1 โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพของเด็กไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน ผู้วิจัย นางอรัญญา ไชยศร ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายแผนและประกัน คุณภาพการศึกษา วุฒิการศึกษา บธ.ม.บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส.เทค.) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ Southern Technological College

Southern Technological College ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาการเรียนรู้เรื่องการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ วิชาโปรแกรมตารางคำนวณโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้(เอส.เทค.) Southern Technological College

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1 เพื่อสร้างแบบฝึกเสริมทักษะวิชาโปรแกรมตารางคำนวณเรื่องการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส.เทค.)ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางคำนวณ เรื่องการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณของนักเรียนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ 3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิชาโปรแกรมตารางคำนวณเรื่องการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ Southern Technological College

Southern Technological College กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรอิสระ แบบฝึกเสริมทักษะ ตัวแปรตาม - ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ - ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ Southern Technological College

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี จำนวน 25 คน ของวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส.เทค.) ปีการศึกษา 2559 ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี จำนวน 15 คน ของวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส.เทค.) ปีการศึกษา 2559 จากการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling) กลุ่มตัวอย่าง Southern Technological College

ตัวอย่างแบบฝึกเสริมทักษะ Southern Technological College

แบบฝึกหัดระหว่างเรียน (E1) แบบทดสอบหลังเรียน (E2) ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะ รายการทดสอบ จำนวนนักเรียน คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ แบบฝึกหัดระหว่างเรียน (E1) 15 20 15.03 75.11 แบบทดสอบหลังเรียน (E2) 11.67 77.78 ค่าประสิทธิภาพ(E1/E2 ) 75.11/77.78 Southern Technological College

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังจากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ รายการ จำนวน นักเรียน คะแนนเต็ม X S.D. t Sig (2 tailed) ก่อนใช้แบบฝึกเสริมทักษะ 15 9.73 0.799   16.358* .000 หลังใช้แบบฝึกเสริมทักษะ 11.67 0.488 * มีนัยสำคัญที่ระดับ .05 Southern Technological College

ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะ X S.D. ระดับความพึงพอใจ 1. เนื้อหาของแบบฝึกเรียงลำดับจากง่ายไปหายาก 4.80 0.42 มากที่สุด 2. แบบฝึกเสริมทักษะน่าสนใจมีหลากหลายรูปแบบ 4.60 0.52 3. เนื้อหาของแบบฝึกมีความชัดเจนทุกแบบฝึก 4. คำสั่งการทำกิจกรรมในแบบฝึกชัดเจนเข้าใจง่าย 4.70 0.48 5. เนื้อหาและกิจกรรมในแบบฝึกมีความครอบคลุมและสอดคล้อง กับกิจกรรมการเรียนการสอน 6. กิจกรรมในแบบฝึกสอดคล้องเหมาะสมกับเนื้อหาที่สอน 4.40 มาก 7. เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมมีความเหมาะสม 4.20 0.79 8. กิจกรรมในแต่ละแบบฝึกน่าสนใจมีความยากง่ายพอเหมาะ 4.90 0.32 9. ทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน การสอนและเน้นการ ปฏิบัติจริง และเรียนรู้อย่างมีความสุข 10. ประโยชน์ของการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ 5.00 0.00 รวม 4.65 0.22 Southern Technological College

ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ สรุปผลการวิจัย ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ แบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณที่สร้างขึ้น มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 75.11/77.78 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ 75/ 75 แสดงว่าแบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ มีประสิทธิภาพ Southern Technological College

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) สูงกว่า Southern Technological College ผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ หลังจากการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ ( X =11.67 S.D. =0.488) ก่อนการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ ( X =9.73 S.D. =0.799) สูงกว่า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t-test =16.358*) Southern Technological College

Southern Technological College สรุปผลการวิจัย (ต่อ) นักเรียน มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด ( X =4.65 S.D. =0.22) ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณ Southern Technological College

ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ 1 การเลือกเนื้อหาที่นำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญอย่างมากควรคำนึงถึงความเหมาะสมของ เพศ วัย และระดับความสามารถในการเรียนของผู้เรียนด้วย หากเนื้อหาใดที่ผู้เรียนสนใจผู้เรียนก็จะเกิดความกระตือรือร้นการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น 2 ในระหว่างการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ครูผู้สอนควรสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนที่มีความสามารถในการเรียนรู้ต่ำ อาจจะไม่เข้าใจหรือเกิดการเรียนรู้ช้าหรือต้องการความช่วยเหลือ ครูผู้สอนควรใช้เทคนิคเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียนสนใจ หรืออธิบายให้เข้าใจชัดเจนอีกครั้งหนึ่ง 3 ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ควรใช้เวลาในการเรียนรู้การใช้แบบฝึกเสริมทักษะการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณให้มากขึ้นเพื่อนักเรียนจะได้มีโอกาสฝึกฝนทักษะบ่อย ๆ จนเกิดความชำนาญ Southern Technological College

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการทดลองเปรียบเทียบวิธีการเรียนรู้ วิชาโปรแกรมตารางคำนวณเรื่องการใช้สูตรและฟังก์ชั่นในการคำนวณด้วยแบบฝึกเสริมทักษะกับวิธีการเรียนรู้ในรูปแบบอื่นๆ เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจ เลือกวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเนื้อหาและความพร้อมของนักเรียน Southern Technological College