จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
Advertisements

องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. การจัดกิจกรรมแนะแนวในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1 สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ คุณลักษณะอันพึง.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
สรุปผลการอบรม หลักสูตรการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและ ประเมินผล จารุนันท์ สมบูรณ์สิทธิ์
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
การบริหารหลักสูตร.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
ตัวอย่างกลยุทธ์ “ห้องเรียนคุณภาพ” คือ...อย่างไร (มีหลายแนวคิด)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
หลักการเขียนเกณฑ์การประเมิน(Rubrics)
การนำเสนอผลงานการวิจัย
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ADDIE model หลักการออกแบบของ
รายงานผล O-NET ปีการศึกษา 2556
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม 533050332-4 ช้นปีที่3 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา

ทำไมถึงเกิดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทำไมถึงเกิดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 -ด้านเอกสารหลักสูตร กระบวนการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ -ผลผลิตที่เกิดจากการใช้หลักสูตร หลักสูตร 2544 เกิดความไม่ชัดเจน การวัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ปัญหาการจัดทำเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน คุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ ความสมารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ ทำให้เกิด หลักสูตร2551

รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีจิตสาธารณะ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มุ่งมั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์ รักความเป็นไทย มีวินัย อยู่อย่างพอเพียง ใฝ่เรียนรู้

จุดประสงค์ของการวัดและประเมินผล สังเกต ซักถาม ระดมความคิดเห็น การใช้แฟ้มสะสมงาน การใช้ภาระงานที่เน้นการปฏิบัติ การประเมินจากความรู้เดิม ประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน และใช้เกณฑ์การให้คะแนน 1.การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน เครื่องมือ/วิธีการ สิ่งสำคัญ คือ การให้ข้อมูลย้อนกลับ -ประเมินเมื่อจบหน่วยการเรียนหรือจบรายวิชาเพื่อตัดสินคะแนน -รับรองความรู้ ความสามารถของผู้เรียนว่าผ่านหรือไม่ สามารถเลื่อนชั้นหรือจบหลักสูตรหรือไม่ 2.การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เครื่องมือ/วิธีการ

ระดับการวัดและประเมินผล การประเมินระดับชั้นเรียน การประเมินระดับสถานศึกษา การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา การประเมินระดับชาติ

องค์ประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้มีความสัมพันธ์ สาระการเรียนรู้ ทั้ง 8 กลุ่ม การอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียน คุณภาพผู้เรียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน

ภารกิจของผู้สอนด้านการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ กระบวนทัศน์ใหม่ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ บรรยากาศในชั้นเรียน : แนวคิดที่ต้องเปลี่ยนแปลง เดิม ใหม่ ห้องเรียนที่ยึดการเปรียบเทียบ ผลการเรียนเป็นหลัก โดยเป้าหมายของการวัดและประเมินผล คือการสอบให้คะแนน ห้องเรียนที่มีการเรียนรู้เป็นหัวใจ โดยเป้าหมายหลักของการวัด และประเมินผล คือ การปรับปรุง คุณภาพการสอนและการเรียนรู้

ความหมายและความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน การวัด (Measurement) หมายถึง การกำหนดตัวเลขให้กับสิ่งต่างๆ การประเมิน (Assessment) หมายถึง กระบวนการเก็บข้อมูล ตีความ บันทึกและใช้ข้อมูลจากการทำกิจกรรมของผู้เรียน ว่าผู้เรียน รู้อะไร สามารถทำอะไรได้บ้าง การประเมินค่า/การตัดสิน (Evaluation) หมายถึง การนำเอาข้อมูล ต่างๆ ที่ได้จากการวัดหลาย ๆ อย่างมาเป็นข้อมูลในการตัดสินผลการเรียน เพื่อประเมินการเรียนรู้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom Assessment) หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินตลอดระยะเวลาของการจัดการเรียนการสอน ผลที่ได้จะเป็นข้อมูลสะท้อนให้ผู้สอนทราบถึงผลการจัดการเรียนการสอนของตน และพัฒนาการของผู้เรียน

ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จำแนกตามวิธีการแปลความหมายผลการเรียนรู้ จำแนกตามขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน ก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียน -การประเมินเพื่อจัดวางตำแหน่ง -การประเมินเพื่อวินิจฉัย -การประเมินผลย่อย -การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ -การวัดและประเมินแบบอิงกลุ่ม -การวัดและประเมินแบบอิงเกณฑ์

วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ *เป็นการได้มาซึ่งข้อมูล แบบเป็นทางการ แบบไม่เป็นทางการ *เป็นการได้มาซึ่งข้อมูล ผลการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นรายบุคคล *เป็นประโยชน์ในการพัฒนาผู้เรียน สามารถเข้าใจผู้เรียนได้อย่างลึกซึ้ง *เป็นการได้มาซึ่งข้อมูล ผลการเรียนรู้ *เหมาะสำหรับการประเมิน เพื่อตัดสิน

วิธีการที่ใช้ในการประเมิน แบบไม่เป็นทางการ วิธีการที่ใช้ในการประเมิน *การสังเกตพฤติกรรม *การสอบปากเปล่า *การพูดคุย *การใช้คำถาม *การเขียนสะท้อนการเรียนรู้ *การประเมินการปฏิบัติ *การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน *การวัดและประเมินด้วยแบบทดสอบ *การประเมินด้านความรู้สึกนึกคิด *การประเมินตามสภาพจริง *การประเมินตนเองของผู้เรียน *การประเมินโดยเพื่อน แบบเป็นทางการ * การจัดสอบ * การใช้แบบสอบหรือแบบวัด(Test)

หลักฐานการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ (Evidence of Learning) เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นรูปธรรมว่า มีร่องรอย/หลักฐานใดบ้างที่แสดงถึงผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่สัมพันธ์โดยตรง กับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ผลผลิต ผลการปฏิบัติ รายงานที่เป็นรูปเล่ม สิ่งประดิษฐ์ แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ การรายงานด้วยวาจา การปฏิบัติตามภาคสนาม การจัดนิทรรศการ ฯลฯ

เกณฑ์การประเมิน (Rubrics) เกณฑ์การประเมิน เป็นแนวทางให้คะแนนที่ประกอบด้วยเกณฑ์ด้านต่าง ๆ เพื่อใช้ประเมินค่าผลการปฏิบัติของผู้เรียนในภาระงาน/ชิ้นงาน สามารถใช้ เป็นเครื่องมือในการสอนโดยให้ผู้เรียนได้รับทราบว่าผู้สอนคาดหวัง อะไรบ้างจากชิ้นงานที่มอบหมาย หรือให้ผู้เรียนร่วมในการสร้างเกณฑ์ก็จะ ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมและรับผิดชอบ เกณฑ์การประเมิน ประกอบด้วย *แบบแยกประเด็น (Analytic Rubrics) *เกณฑ์การประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rubric)

ประเมินสมรรถนะของผู้เรียน การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนควรใช้วิธีการประเมินที่เน้นการปฏิบัติ และบูรณาการอยู่ในกระบวนการเรียน การสอนแล้ว ไม่ควรแยกประเมินต่างหากอีก แต่ทั้งนี้สถานศึกษาต้องตรวจสอบว่าผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญตามที่หลักสูตรกำหนดหรือไม่

กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร พุทธิพิสัย จิตพิสัย *ผลการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระ *ผลการเรียนรู้ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน *ผลการเรียนรู้ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ *ผลการเรียนรู้ที่เกิดจากกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ทักษะพิสัย

ศึกษา/วิเคราะห์ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด จากหลักสูตรสถานศึกษา - เลือกวิธีการประเมิน สร้าง/จัดหาเครื่องมือ/ เกณฑ์การประเมิน จัดทำโครงสร้างรายวิชา และแผนการประเมิน การจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8กลุ่มสาระ ชี้แจงรายละเอียดของแผนการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ประเมิน วิเคราะห์ผู้เรียน สอนซ่อมเสริม การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมินความก้าวหน้าระหว่างเรียน ประเมินความสำเร็จหลังเรียน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ไม่ผ่าน ประเมินปลายปี/ภาค สอบแก้ตัวดำเนินการตามระเบียบสถานศึกษา ไม่ผ่าน สอนซ่อม ตัดสินผลการเรียน ส่งผลการเรียน ผ่าน อนุมัติผลการเรียน เรียนซ้ำรายวิชาตามระเบียบสถานศึกษา รายงานผลการเรียนต่อผู้เกี่ยวข้อง

The End