กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 18 มค.60 7 พ.ย.59

เนื้อหา ปัญหาการดำเนินงานของพื้นที่ตำบล การเปลี่ยนจาก Issues base มาเป็น Activity base นวัตกรรมกระบวนการที่จะนำมาใช้ กลไกการขับเคลื่อน และแผนการนำ SLM,ค่ากลางมาใช้ สรุปประเด็นที่สำคัญเกี่ยวกับค่ากลาง

ปัญหาการดำเนินงานในพื้นที่ ปัญหาการดำเนินงานของพื้นที่ตำบล งานตัวเองมาก งานคนอื่นก็มาก (ตำบลบูรณาการ ,ตำบล LTC ,ตำบลบูรณาการ 5 กลุ่มวัยและอนามัย สวล, อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง อำเภออนามัยการเจริญพันธ์ ,DHS) ขาดการบูรณาการ โดยโครงการลงมาเป็นเรื่องๆ เช่น ไข้เลือดออก อุบัติเหตุ NCD หรือ Issues base โดยพื้นที่นั้นนำประเด็นปัญหานั้นมาแตกเป็นกิจกรรมแล้วดำเนินการกิจกรรม (Activity base) ส่งผลให้เกิดการแยกเงิน แยกกิจกรรม กันทำ ถ้ากิจกรรมเดียวกัน ทำพร้อมกัน จะประหยัดทั้งงประมาณและเวลา ความคิดเรื่องสุขภาพว่าเป็นของใคร (ประชาชน ,จนท.สธ.,รัฐ,อปท,ประชาสังคม)

การเปลี่ยนจาก Issue base มาเป็น Activity base Issues เฝ้าระวัง โดยชุมชน สื่อสารเพื่อปรับพฤติกรรม มาตรการสังคม การปรับแผนงานโครงการ พัฒนาการเด็ก / เด็กอ้วน เตี้ย IQ วัยรุ่นตั้งครรภ์ ผู้ใหญ่อ้วน NCD ผู้สูงอายุอมโรค อยู่ในภาวะพึ่งพิง ปัญหาขยะ โลกร้อน

นวัตกรรมกระบวนการที่จะเปลี่ยน Issues base มาเป็น Activity base สมัยแรก (10 ปีที่แล้ว )แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) และฉบับปฏิบัติการ (SLM) ค่ากลางหรืองานของกิจกรรม ที่พื้นที่ส่วนใหญ่ (65%) ที่ประสบความสำเร็จทำ การวิจัยดำเนินการ (Operation Research) ในพื้นที่ภาคเหนือ พบสรุปได้ว่ากิจกรรมสำคัญสำหรับพื้นที่ได้แก่ การเฝ้าระวังโดยชุมชน การสื่อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การกำหนดมาตรการทางสังคม การปรับแผนงานโครงการ กิจกรรมจะระบุเป็นคำนาม (Noun) ส่วนงานจะระบุเป็นคำกริยา (Verb)

ความแตกต่างระหว่างกิจกรรมกับงาน งาน (Verb)  กิจกรรม (Noun) งาน 1 งาน 2 งาน 3 งาน 4 การเฝ้าระวังโดยชุมชน สำรวจกลุ่มเสี่ยงโดย อสม การสือสารเพื่อปรับพฤติกรรม ประกาศ คำสัญญา มาตรการทางสังคม ทำประชาคม การปรับแผนงาน/โครงการ ประเมินแผนงานเทียบกับค่ากลาง

ต้องทำอะไร (งาน) ถึงจะเกิดการการสื่อสารเพื่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประชาชน เข้าถึง (ข้อมูล ,ข่าวสาร,ความรู้) ประชาชน เข้าใจ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ที่ได้รับ) เกิดการแลกเปลี่ยน (ค้นเพิ่ม สอบถาม แลกเปลี่ยน) ตัดสินใจ (กำหนดทางเลือก และตัดสินใจเลือกทางเลือก) เปลี่ยนพฤติกรรม บอกต่อ (ในทางบวกถ้าได้ผล หรือ ในทางลบถ้าไม่ได้ผล)

ต้องทำอะไร (งาน) ถึงจะเกิดกิจกรรม มาตรการทางสังคม ชุมชนเข้าถึง และเข้าใจข้อมูล ข่าวสาร และความรู้ จนเกิดอารมณ์ร่วมหรือความสนใจ ร่วมในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การแลกเปลี่ยนเพื่อที่จะจัดการเรื่องที่สนใจร่วมกัน เกิดความมุ่งมั่นที่จะทำอะไรบางอย่างร่วมกัน เพื่อการอยู่ร่วมกัน หรือเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือ เพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน ความมุ่งมั่นได้พัฒนามากขึ้นจนเกิดสิ่งต่างๆ ตามลำดับ ดังนี้ ข้อตกลงร่วมกัน ข้อตกลงที่เป็นลายลักษณ์อักษร ข้อตกลงที่เกิดผลในทางปฏิบัติ มีการบังคับใช้ มีการให้รางวัล หรือ ลงโทษ

ต้องทำอะไร(งาน) ถึงเกิดกิจกรรมการเฝ้าระวังโดยชุมชน ชุมชนได้เข้าถึง เข้าใจ ข้อมูล ข่าวสาร และความรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่จะส่งผลต่อสุขภาพทั้งทางบวกหรือทางลบ ชุมชนเปลี่ยนวิธีคิดว่า ไม่ใช่เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ แต่เป็นหน้าที่ของทุกคนที่เกี่ยวข้อง ชุมชนวางมาตรการในการเฝ้าระวัง เรื่องที่สนใจร่วมกัน ชุมชนกำหนดมาตรการในการจัดการ โดยแยกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง เมื่อเฝ้าระวังพบเหตุการณ์ดังกล่าวแยกตามกลุ่ม

ต้องทำอะไร(งาน) ถึงเกิดกิจกรรมการปรับแผนงาน/โครงการ การปรับเปลี่ยนวิธีคิดและวิธีการทำงาน เปลี่ยนจาก Issues base เป็น Activity base เปลี่ยนจากทำคนเดียวมาเป็นทำเป็นทีม การเปลี่ยนวิธีการทำแผน การบูรณาการการทำงานร่วมกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

สรุปแนวคิดของค่ากลาง ปัญหาของพื้นที่เนื่องจากส่วนกลาง/จังหวัด ผลักดันแผนพัฒนาหรือแก้ปัญหาสุขภาพในรูปของโครงการที่เป็น Issues base ทำให้ issues ต่างๆที่ลงมา ต่างแผน งาน/เงิน/เวลา ขาดการบูรณาการ ได้มีการวิจัยปฏิบัติการเพื่อหา กิจกรรมที่สำคัญ (Key Activities) ได้แก่ เฝ้าระวัง สื่อสาร มาตรการสังคม ปรับโครงการ ถ้าหางานที่พื้นที่ส่วนใหญ่ที่ประสบผลสำเร็จทำ หรือเรียกกว่าค่ากลาง แล้วประกาศให้พื้นที่อื่นๆทำงานนั้น ย่อมทำให้พื้นที่นั้นประสบความสำเร็จไปด้วย โดยไม่ต้องเสียเวลาลองผิดลองถูก การขยายผลให้มีการใช้ค่ากลางครอบคลุมทั้งพื้นที่จะส่งผลให้เกิดการบูรณาการในพื้นที่ เพราะบูรณาการทุก issues ลงมาสู่การทำงานที่สำคัญใน 4 กิจกรรมหลัก และทำให้ประหยัดเงิน และเวลา

กลไกการขับเคลื่อน กรมวิชการ/ศูนย์เขต สสจ เข้าอบรม Super trainer เพื่อมาอบรมครู ก.ระดับจังหวัด จัดทำค่ากลางความสำเร็จของเขต ส่งให้จังหวัด สสจ.และครู ก.นำค่ากลางความสำเร็จของเขตมาจัดทำค่ากลางที่คาดหวังของจังหวัด (5 กลุ่มวัย 1 สวล) อบรมครู ข โดยครู ก.1 ในพื้นที่เป้าหมาย กรมวิชาการสนับสนุนวิชาการ เปิดตัวตำบล นำร่องที่จะดำเนินการ ตำบลบูรณาการ 5 กลุ่มวัย/สวล โดยใช้ค่ากลาง

สรุประเด็นที่สำคัญเกี่ยวกับค่ากลาง

ใครๆ ในที่นี้คือพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน