หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พวกเราต่างคิดว่าการกินผลไม้เป็นเรื่องง่ายๆ แค่ซื้อมา แล้วก็ปอก จากนั้นก็หยิบเข้าปากเท่านั้น คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่าถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
… FACEBOOK … ..By Peerapon Wongpanit
วิธีการหาองค์ประกอบขยะมูลฝอย
ผัก.
ธุรกิจส่งเสริมและรวบรวมกล้วยหอมทองปลอดสารพิษเพื่อการส่งออก เป็นธุรกิจทำการค้าระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น ซึ่งในแต่ละปีมีการส่งออก ล้านบาท ซึ่งขึ้นอยู่กับภัยธรรมชาติและผลผลิตของสมาชิก.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
เรื่อง การทำน้ำสกัดชีวภาพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ระดับความเสี่ยง (QQR)
มาทำความรู้จักกับ เห็ดปลวกฟาน.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การอ่านและวิเคราะห์ บทความวิชาการ (ตัวอย่าง)
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
เรื่อง การจัดสวนถาด ชื่อผู้จัดทำ นายอภิสิทธิ์ ทัพทวี
SMS News Distribute Service
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
รายวิชา การบริหารการศึกษา
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
การทำน้ำส้มควันไม้ แหล่งเรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้พัฒนาที่ดินตามแนว
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
บทที่ 8 การจดบันทึกและทำบัญชี
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แหล่งเรียนรู้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ศูนย์การเรียนรู้ครูเกษตรกรชุมชน จัดทำโดย นายมานพ นามมณี นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาราชภัฎมหาสารคาม

ปุ๋ยหมักชีวภาพ

สาระสำคัญ การทำปุ๋ยหมักมีประโยชน์ในทุกด้าน ทั้งนี้ได้ช่วยในด้านการเกษตรและการปลูกพืชผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษ ลดการใช้จ่ายในครัวเรือน

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อรู้การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อรู้ประโยชน์ของปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อรู้ลักษณะของปุ๋ยหมักชีวภาพ

ปุ๋ยหมักชีวภาพ ก่อนเรียน เนื้อหา หลังเรียน

1. ข้อใดคือความหมายของปุ๋ยหมักชีวภาพ ก่อนเรียน 1. ข้อใดคือความหมายของปุ๋ยหมักชีวภาพ ก. ดินไม้เศษหญ้านำมาร่วมกัน ข. ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผ่านกระบวนการหมัก ค. น้ำสกัดจากผลไม้ ง. ถูกทุกข้อ

2. ข้อใดไม่ใช่วัสดุในการทำปุ๋ยหมัก ก่อนเรียน 2. ข้อใดไม่ใช่วัสดุในการทำปุ๋ยหมัก ก. มูลสัตว์ ข. แกลบ ค. รำ ง. บัวรดน้ำ

3. ข้อใดไม่ใช้อุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมัก ก่อนเรียน 3. ข้อใดไม่ใช้อุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมัก ก. น้ำ ข. จอบ ค. คราด ง. บัวรดน้ำ

4. การใช้ปุ๋ยหมัก ให้หมักปุ๋ยไว้กี่วัน ก่อนเรียน 4. การใช้ปุ๋ยหมัก ให้หมักปุ๋ยไว้กี่วัน ก. 1 วัน ข. 3 วัน ค. 5 วัน ง. 7 วัน

ก่อนเรียน 5. ปุ๋ยหมักมีกี่วิธี ก. 1 วิธี ข. 2 วิธี ค. 3 วิธี ง. 4 วิธี

6. ในการหมักวิธีที่ 2 ควรตรวจดูความร้อน ในวันที่เท่าไรของการหมัก ก่อนเรียน 6. ในการหมักวิธีที่ 2 ควรตรวจดูความร้อน ในวันที่เท่าไรของการหมัก ก. วันที่ 2-3 ข. วันที่ 3-4 ค.วันที่ 4-5 ง. วันที่ 5-6

7. อุณหภูมิในการหมักที่เหมาะสมคือเท่าไร ก่อนเรียน 7. อุณหภูมิในการหมักที่เหมาะสมคือเท่าไร ก. 10-20 องศา ข. 20-30 องศา ค. 40-50 องศา ง. เท่าใดก็ได้

8. การใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพคลุกกับดินรองก้นหลุม ใช้กับผักอายุกี่เดือน ก่อนเรียน 8. การใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพคลุกกับดินรองก้นหลุม ใช้กับผักอายุกี่เดือน ก. 1 เดือน ข. 2 เดือน ค. 3 เดือน ง. 4 เดือน

9. ปุ๋ยหมักธรรมดาจะใช้เศษพืชและมูลสัตว์ในอัตราเท่าไร ก่อนเรียน 9. ปุ๋ยหมักธรรมดาจะใช้เศษพืชและมูลสัตว์ในอัตราเท่าไร ก. 50:50 ข. 100:100 ค. 100:10 ง. 50:10

10. ข้อใดเป็นประโยชน์ของการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ ก่อนเรียน 10. ข้อใดเป็นประโยชน์ของการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ ก. การซึมผ่านของน้ำดีขึ้น ข. ดูดซึมของธาตุอาหาร ค.ระบายอากาศของดิน ง. ถูกทุกข้อ

ปุ๋ยหมักชีวภาพ คือ ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผ่านกระบวนการหมักกับน้ำสกัดชีวภาพ ช่วยในการบำรุงดิน ย่อยสลายอินทรีย์วัตถุในดินให้เป็นอาหารแก่พืช

วัสดุอุปกรณ์ 1 มูลสัตว์แห้งละเอียด 3 ส่วน 2 แกลบดำ 1 ส่วน 3 อินทรีย์วัตถุอื่นๆ ที่หาได้ง่าย เช่น แกลบ ชานอ้อย ขี้เลื่อย เปลือกถั่วลิสง เปลือกถั่วเขียว ขุยมะพร้าว เป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง รวม 3 ส่วน 4 รำละเอียด 1 ส่วน

วัสดุอุปกรณ์ 5. น้ำสกัดชีวภาพ หรือใช้หัวเชื่อจุลินทรีย์ 1 ส่วน 6. กากน้ำตาล 1 ส่วน 7. น้ำ 100 ส่วน 8. บัวรดน้ำ

ขั้นตอนวิธีทำ 1 นำวัสดุต่างๆ มากองซ้อนกันเป็นชั้นๆ แล้วคลุกเคล้าให้เข้ากัน 2 ผสมเอาส่วนของน้ำสัดชีวภาพกับน้ำตาลและน้ำคนจนละลายเข้ากันดี ใส่บัวราดบนกลองวัสดุปุ๋ยหมัก คลุกให้เข้ากันจนทั่วให้ได้ความชื้นพอหมาดๆ อย่าให้แห้งหรือชื้นหรือแห้งจนเกินไป(ประมาณ 30-40%) หรือลองเอามีดขยำบีบดู ถ้าส่วนผสมเป็นก้อนไม่แตกออกจากกันและมือรู้สึกชื้นๆ ไม่แฉะแสดงว่าใช้ได้ ถ้าแตกออกจากกันยังใช้ไม่ได้ต้องรดน้ำเพิ่ม 3 หมักกองปุ๋ยหมักไว้ 7 วัน ก็นำไปใช้ได้

วิธีหมัก ทำได้ 2 วิธี คือ 4.1 เกลี่ยกองปุ๋ยหมักบนพื้นซีเมนต์หนาประมาณ 1-2 วัน คลุมด้วยกระสอบป่านทิ้งไว้ 4-5 วัน ตรวจดูความร้อน ในวันที่ 2-3 ถ้าร้อนมากอาจจะต้องเอากระสอบที่คลุมออกแล้วกลับกองปุ๋ยเพื่อระบายความร้อน หลังจากนั้นกองปุ๋ยจะค่อยๆ เย็นลงนำลงบรรจุกระสอบเก็บไว้ใช้ต่อไป

วิธีหมัก(ต่อ) 4.2 บรรจุปุ๋ยหมักที่เข้ากันดีแล้วลงในกระสอบปุ๋ย ไม่ต้องมัดปากถุง ตั้งทิ้งไว้บนท่อนไม้ หรือไม้กระดานที่สามารถถ่ายเทอากาศใต้พื้นถุงได้ ทิ้งไว้ประมาณ 5- 7 วัน จะได้ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วย จุลินทรีย์ และสารอินทรีย์ต่างๆ เช่นเดียวกันกับน้ำสกัดชีวภาพในรูปแห้ง ปุ๋ยหมักชีวภาพที่ดีจะมีกลิ่นหอม มีใยสีขาวของเชื้อราเกาะเป็นก้อนในระหว่างการหมัก ถ้าไม่เกิดความร้อนเลย แสดงว่าการหมักไม่ได้ผล อุณหภูมิในระหว่างการกมักที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 40-50 องศาเซลเซียส ถ้าให้ความชื้นสูงเกินไป จะเกิดความร้อนสูงเกินไป ฉะนั้นความชื้นที่ต้องพอดี ประมาณ 30% ปุ๋ยหมักชีวภาพเมื่อแห้งดีแล้ว สามารถเก็บไว้ได้นานหลายเดือน เก็บไว้ในที่แห้งในร่ม

วิธีใช้ 1. ผสมปุ๋ยหมักชีวภาพกับดินในแปลงปลูกผักทุกชนิดในอัตรา 1 กิโลกรัม ต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร 2. พืชผักอายุเกิน 2 เดือน เช่นกะหล่ำปลี ถั่วฝักยาว แตงและฟักทอง ใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพคลุกกับดินรองก้นหลุม ก่อนปลูกผักประมาณ 1 กำมือ

วิธีใช้ 3 ไม้ผลควรรองก้นหลุมด้วยเศษหญ้าหรือใบไม้แห้ง ฟางและปุ๋ยหมักชีวภาพ 1-2 กิโลกรัม สำหรับไม้ผลที่ปลูกแล้วใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพ แนวทรงพุ่ม 1.5 กิโลกรัม ต่อตารางเมตร แล้วคลุมด้วยหญ้าแห้งหรือใบไม้แห้งหรือฟาง ควรใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพ เดือนละ 1 ครั้งๆ ละ 1 กำมือ

ลักษณะของปุ๋ยหมักต่างๆ ตามระยะเวลาในการนำมาใช้ โดยแบ่งเป็น 4 แบบ ดังนี้ 4.1ปุ๋ยหมักค้างปี ใช้เศษพืชหมักอย่างเดียวนำมาหมักทิ้งไว้ค้างปีก็สารมารถนำมาใช้เป็นปุ๋ยหมักโดยไม่ต้องดูแลรักษา ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาในการหมักนานประมาณ 1 ปี

ลักษณะของปุ๋ยหมักต่างๆ 4.2 ปุ๋ยหมักธรรมดา ใช้มูลสัตว์ ใช้เศษพืชและมูลสัตว์ในอัตรา 100:10 ถ้า เป็นเศษพืชชิ้นส่วนเล็กนำมาคลุกผสมได้เลย แต่ถ้าเป็นเศษพืชส่วนใหญ่ๆ นำมากองเป็นชั้นๆ แต่ละกองจะทำประมาณ 3 ชั้น แต่ละชั้นประกอบด้วยเศษพืชที่ย่ำและรดน้ำสูงประมาณ 30-40 เซนติเมตร แล้วโรยทับด้วยมูลสัตว์แบบนี้ใช้ระยะเวลาหมักน้อยกว่าปุ๋ยหมักค้างปี เช่น ถ้าใช้ฟางข้าวจะใช้เวลาประมาณ 6-8 เดือนในการหมัก

ลักษณะของปุ๋ยหมักต่างๆ 4.3 ปุ๋ยหมักธรรมดาใช้จุลินทรีย์เร่ง ใช้เวลาในการทำสั้นทำได้โดยการใช้เชื้อจุลินทรีย์เร่งการย่อยสลายของเศษพืชและมูลสัตว์ทำให้ได้ปุ๋ยหมักเร็วขึ้นนำไปใช้ได้ทันฤดูกาลโดยใช้สูตรดังนี้ เศษพืช 1000 กิโลกรัม มูลสัตว์ 100 กิโลกรัม และเชื่อจุลินทรีย์ (น้ำหมักชีวภาพ) ตามความเหมาะสม ใช้เวลาหมักประมาณ 30-60 วัน มีจุดประสงค์เพื่อเป็นการประหยัดในการซื้อเชื่อจุลินทรีย์

ลักษณะของปุ๋ยหมักต่างๆ 4.4 ปุ๋ยหมักต่อเชื้อ เป็นการนำปุ๋ยหมักธรรมดาใช้จุลินทรีย์เร่งจำนวน 100 กิโลกรัม นำไปต่อเชื้อการทำปุ๋ยหมักปุ๋ยหมักได้อีก 1000 กิโลกรัม(1 ตัน) การต่อเชื้อนี้สามารถทำการต่อได้เพียงอีก 3 ครั้ง ใช้เวลาการหมักประมาณ 30-60 วัน มีจุดประสงค์เพื่อเป็นการประหยัดในการซื้อเชื่อจุลินทรีย์

การพิจารณาในแง่ใช้ประโยชน์สูงสุด โดยแบ่งได้ 3 แบบดังนี้ 5.1 ใส่แบบหว่านทั่วแปลงการใส่ปุ๋ยหมักแบบนี้เป็นวิธีการที่ดีต่อการปรับปรุงบำรุงดิน เนื่องจากปุ๋ยหมักจะกระจายอย่างสม่ำเสมอทั่วทั้งแปลงปลูกพืชที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก ส่วนมากจะใช้กับการปลูกข้าวหรือพืชไร่ หรือพืชผัก แต่จะต้องใช้แรงงานในการใส่ปุ๋ยหมัก อัตราของปุ๋ยหมักที่ใช้ประมาณ 2 ตัน ต่อไร่ต่อปี

การพิจารณาในแง่ใช้ประโยชน์สูงสุด 5.2 ใส่แบบเป็นแถว การใส่ปุ๋ยหมักแบบเป็นแถวตามแนวปลูกพืชมักใช้กับการปลูกพืชไร่ วิธีการใส่ปุ๋ยหมักแบบเป็นแถว ที่เหมาะสมที่จะใช้แบบโรยเป็นแถวสำหรับระบบการปลูกพืชไร ทั่วไป อัตราปุ๋ยหมักที่ใช้ประมาณ 3 ตันต่อไร่ต่อปี

การพิจารณาในแง่ใช้ประโยชน์สูงสุด 5.3 ใส่แบบเป็นหลุม การใส่ปุ๋ยหมักแบบเป็นหลุมมักจะใช้กับการปลูกไม้ผล และไม้ยืนต้นโดยสามารถใส่ปุ๋ยหมักได้สองระยะคือ ในช่วงแรกของการเตรียมหลุมเพื่อการปลูก นำดินด้านบนของหลุมคลุกเคล้ากับปุ๋ยหมักแล้วใส่รองก้นหลุม อีกระยะหนึ่งอาจจะใส่ปุ๋ยหมักในช่วงที่พืชเจริญแล้ว โดยการขุดเป็นร่องรอบๆ ตันตามแนวทรงพุ่มของต้นพืช แล้วใส่ปุ๋ยหมักลงในร่องแล้วกลบด้วยดิน อัตราการใช้ปุ๋ยหมักประมาณ 20-50 กิโลกรัมต่อหลุม

การใช้ประโยชน์ 1.ทำให้โครงสร้างของดินและการซึมผ่านของน้ำดีขึ้น 2. เพิ่มการดูดซับของธาตุอาหารหลักและลดความเป็นพิษของธาตุบางชนิด 3. เพิ่มกิจกรรมของจุลินทรีย์ในดินและลดปริมาณเชื่อโรคบางชนิด 4. การระบายอากาศของดินและรากพืชแผ่กระจายได้ดีขึ้น 5. ดินค่อยๆ ปล่อยธาตุอาหารพืชและลดการสูญเสียธาตุอาหารของพืช

1. ข้อใดคือความหมายของปุ๋ยหมักชีวภาพ หลังเรียน 1. ข้อใดคือความหมายของปุ๋ยหมักชีวภาพ ก. ดินไม้เศษหญ้านำมาร่วมกัน ข. ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผ่านกระบวนการหมัก ค. น้ำสกัดจากผลไม้ ง. ถูกทุกข้อ

2. ข้อใดไม่ใช่วัสดุในการทำปุ๋ยหมัก หลังเรียน 2. ข้อใดไม่ใช่วัสดุในการทำปุ๋ยหมัก ก. มูลสัตว์ ข. แกลบ ค. รำ ง. บัวรดน้ำ

3. ข้อใดไม่ใช้อุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมัก หลังเรียน 3. ข้อใดไม่ใช้อุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมัก ก. น้ำ ข. จอบ ค. คราด ง. บัวรดน้ำ

4. การใช้ปุ๋ยหมัก ให้หมักปุ๋ยไว้กี่วัน หลังเรียน 4. การใช้ปุ๋ยหมัก ให้หมักปุ๋ยไว้กี่วัน ก. 1 วัน ข. 3 วัน ค. 5 วัน ง. 7 วัน

หลังเรียน 5. ปุ๋ยหมักมีกี่วิธี ก. 1 วิธี ข. 2 วิธี ค. 3 วิธี ง. 4 วิธี

6. ในการหมักวิธีที่ 2 ควรตรวจดูความร้อน ในวันที่เท่าไรของการหมัก หลังเรียน 6. ในการหมักวิธีที่ 2 ควรตรวจดูความร้อน ในวันที่เท่าไรของการหมัก ก. วันที่ 2-3 ข. วันที่ 3-4 ค.วันที่ 4-5 ง. วันที่ 5-6

7. อุณหภูมิในการหมักที่เหมาะสมคือเท่าไร หลังเรียน 7. อุณหภูมิในการหมักที่เหมาะสมคือเท่าไร ก. 10-20 องศา ข. 20-30 องศา ค. 40-50 องศา ง. เท่าใดก็ได้

8. การใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพคลุกกับดินรองก้นหลุม ใช้กับผักอายุกี่เดือน หลังเรียน 8. การใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพคลุกกับดินรองก้นหลุม ใช้กับผักอายุกี่เดือน ก. 1 เดือน ข. 2 เดือน ค. 3 เดือน ง. 4 เดือน

9. ปุ๋ยหมักธรรมดาจะใช้เศษพืชและมูลสัตว์ในอัตราเท่าไร หลังเรียน 9. ปุ๋ยหมักธรรมดาจะใช้เศษพืชและมูลสัตว์ในอัตราเท่าไร ก. 50:50 ข. 100:100 ค. 100:10 ง. 50:10

10. ข้อใดเป็นประโยชน์ของการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ หลังเรียน 10. ข้อใดเป็นประโยชน์ของการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ ก. การซึมผ่านของน้ำดีขึ้น ข. ดูดซึมของธาตุอาหาร ค.ระบายอากาศของดิน ง. ถูกทุกข้อ

ผู้จัดทำ ชื่อ-สกุล นายมานพ นามมณี โทรศัพท์ 0879461917 ชื่อ-สกุล นายมานพ นามมณี โทรศัพท์ 0879461917 e-Mail :tentenkung_mis@hotmail.com

รายงานผลการทำแบบทดสอบ คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ทำได้ คะแนน