โอวาท๓ / ไตรสิกขา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1 5 ข. กฎหรือข้อบังคับที่รัฐต้อง ปฏิบัติตาม ค. กฎเกณฑ์ควบคุมความ ประพฤติของบุคคล ง. กฎเกณฑ์ทางสังคม.
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
… FACEBOOK … ..By Peerapon Wongpanit
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้วิจัย รุจิรัชช์ญานันท์ ชัยแก้ว
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ยาเสพติด และชีวิตร่างกาย (คดีร้ายแรง) ของเด็กและเยาวชน ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล การศึกษาโดยใช้ทฤษฎีการควบคุมตนเอง.
การสร้างความตระหนักในโรงเรียนวิถีพุทธ
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
การเลือกใช้เกมหรือ กิจกรรม ในการฝึกอบรม. การฝึกอบรม การเปลี่ยนแปลงพัฒนาคนใน ด้าน ความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Understand) ทักษะ (Skill) ทัศนคติ (Attitude)
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
ชุมชนปลอดภัย.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ถวิล สร่ายหอม ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนขุนหาญวิทยาสรรค์
หลักธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
กลุ่มเกษตรกร.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
FMC Model ดร.รณวริทธิ์ ปริยฉัตรตระกูล
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
อ. อิสรี ไพเราะ (อ.ต๊ะ) MB
ศาสนาเชน Jainism.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
แนวคิดและทฤษฎีจริยธรรม
(Code of Ethics of Teaching Profession)
คู่มือการใช้เครื่องชี้วัดสำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรม ส่วนมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ถ. สป.
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โอวาท๓ / ไตรสิกขา

โอวาท ๓ หรือพุทธโอวาท สจิตฺตปริโยทปนํ การทำจิตให้บริสุทธิ์ สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง กุสลสฺสูปสมฺปทา การทำความดีให้ถึงพร้อม สจิตฺตปริโยทปนํ การทำจิตให้บริสุทธิ์

ทางแห่งการทำกรรม * ทางกาย เรียกว่า กายกรรม * ทางวาจา เรียกว่า วจีกรรม * ทางกาย เรียกว่า กายกรรม * ทางวาจา เรียกว่า วจีกรรม * ทางใจ เรียกว่า มโนกรรม

สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง * ทางกาย เรียกว่า กายทุจริต * ทางวาจา เรียกว่า วจีทุจริต * ทางใจ เรียกว่า มโนทุจริต

กุสลสฺสูปสมฺปทา การทำความดีให้ถึงพร้อม * ทางกาย เรียกว่า กายสุจริต * ทางวาจา เรียกว่า วจีสุจริต * ทางใจ เรียกว่า มโนสุจริต

สจิตฺตปริโยทปนํ การทำจิตให้บริสุทธิ์ สะอาด สว่าง สงบ

แนวคิดสำคัญจากหลักธรรมโอวาท ๓ ให้รู้จักละเว้นความชั่ว ให้ขยันถ้วนทั่วในความดี ทำใจให้ปลอดโปร่งจากราคีทุกชนิด

ชีวิตที่สมบูรณ์ และเป็นสุขตลอดกาล

ไตรสิกขา ข้อปฏิบัติที่จะต้องศึกษา ๓ อย่างคือ อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา เรียกสั้น ๆ ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา ข้อปฏิบัติที่เป็นหลักสำหรับศึกษาอบรมเพื่อฝึกหัด กาย วาจา จิตใจ และปัญญาให้เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป จนบรรลุจุดหมายสูงสุด คือ นิพพาน

สมาธิ (Concentration) องค์ประกอบ ศีล (Morality) สมาธิ (Concentration) ปัญญา (Wisdom)

ปัญญา ไตรสิกขา ศีล สมาธิ

ลักษณะของไตรสิกขา ศีล กาย,วาจา สมาธิ จิตใจ ปัญญา ความคิด เป็นหลักธรรมสัมพันธ์สำหรับฝึกตน เป็นขั้นตอนจากส่วนที่หยาบไปหาส่วนที่ละเอียด ศีล กาย,วาจา สมาธิ จิตใจ ปัญญา ความคิด

ศีล ( Morality ) การฝึกอบรมในด้านความประพฤติ ระเบียบ วินัย ความสุจริต ทางกาย วาจา และอาชีวะ เมื่อฝึกถึงจุดหนึ่ง จึงเรียกได้ว่าเป็น อธิศีลสิกขา

การฝึกคนให้อยู่ในระบบระเบียบ วินัย กับ ศีล การจัดระบบ ระเบียบ วินัย ตัวระบบ ระเบียบ การฝึกคนให้อยู่ในระบบระเบียบ มีต่อ

คุณสมบัติที่เกิดขึ้นใน ศีล๘ คุณสมบัติที่เกิดขึ้นใน ตัวบุคคล ที่ปฏิบัติตามวินัย เรียกว่า ศีล ศีล๑๐ ศีล๕ ศีล๓๑๑ ศีล๒๒๗

วิธีการเสริมสร้างวินัย ๑. ทำให้เป็นพฤติกรรมเคยชิน ๒. ทำตามอย่างวัฒนธรรม ๓. ใช้ปัจจัยอื่นช่วยเสริม ๔. ปลูกฝังอุดมคติ ๕. ใช้กฎเกณฑ์บังคับ

ประโยชน์ของศีล สีเลน สุคตึ ยนฺติ มีสุคติ ปลอดภัยไม่ถูกทำโทษ สีเลน สุคตึ ยนฺติ มีสุคติ ปลอดภัยไม่ถูกทำโทษ สีเลน โภคสมฺปทา ทรัพย์สินเงินทองไม่สูญหาย สีเลน นิพฺพุตึ ยนฺติ ใจสงบเป็นสุขทุกเวลา

สมาธิ ( concentration ) การฝึกอบรมทางใจ การปลูกฝังคุณธรรม สร้างเสริมคุณภาพ และสมรรถภาพของจิต เมื่อฝึกถึงจุดหนึ่ง จึงเรียกได้ว่าเป็น อธิจิตตสิกขา

ควรแก่การงาน (กัมมนียะ) คุณลักษณะของจิตที่เป็นสมาธิ ตั้งมั่น ( สมาหิตะ) บริสุทธิ์ ( ปริสุทธะ ) ควรแก่การงาน (กัมมนียะ)

ปัญญา ( Wisdom ) การศึกษาอบรม ทางปัญญา ให้เกิดความรู้ การศึกษาอบรม ทางปัญญา ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในสิ่งทั้งหลาย ตามความเป็นจริง โดยไม่อิงความรู้สึกตนเอง เมื่อฝึกถึงจุดหนึ่ง จึงเรียกได้ว่าเป็น อธิปัญญาสิกขา

ประตูแห่งการเกิดปัญญา พรสวรรค์ พรแสวง สุตมยปัญญา จินตามยปัญญา ภาวนามยปัญญา

ระดับของปัญญา จำได้ เข้าใจ เข้าถึง

ปัจจัยที่สนับสนุนให้เกิดปัญญา กลฺยาณมิตฺตตา สีลสมฺปทา ฉนฺทสมฺปทา อตฺตสมฺปทา ทิฏฺฐิสมฺปทา อปฺปมาทสมฺปทา โยนิโสมนสิการสมฺปทา

ไตรสิกขากับการดำเนินชีวิต รักษาระเบียบกฎเกณฑ์ในขณะทำหน้าที่ คือ ศีล ทำหน้าที่ด้วยความตั้งใจ ไม่วอกแวกฟุ้งซ่าน คือ สมาธิ ไตร่ตรองหาข้อบกพร่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไข คือ ปัญญา

ความสัมพันธ์กันระหว่าง โอวาท ๓ กับ ไตรสิกขา ความสัมพันธ์กันระหว่าง โอวาท ๓ กับ ไตรสิกขา โอวาท ๓ ไตรสิกขา ศีล ๑.ไม่ทำชั่วทั้งปวง สมาธิ ๒.ทำแต่ความดี ๓.ทำจิตให้บริสุทธิ์ ปัญญา

ความสัมพันธ์ระหว่าง โอวาท ๓ - ไตรสิกขา - มรรค การทำจิตให้บริสุทธิ์ โอวาท 3 ปัญญาสิกขา ( พาจิตสว่าง) 1.สัมมาทิฎฐิ เห็นชอบ 2.สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ การทำจิตให้บริสุทธิ์ 3. สัมมาวาจา วาจาชอบ 4. สัมมากัมมัมตะ กระทำชอบ 5. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ ศีลสิกขา ( พาจิตสะอาด) การไม่ทำชั่วทั้งปวง 6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ 7. สัมมาสติ ระลึกชอบ 8. สัมมาสมาธิ จิตมั่นชอบ จิตตสิกขา พาจิตสงบ การทำแต่ความดี

กิจกรรมการเรียนการสอน ๑. ขั้นทบทวน ๒. ขั้นให้นิยาม ๓. ขั้นให้ตัวอย่างที่ดี ๔. ขั้นให้ตัวอย่างประกอบคำอธิบาย ๕. ขั้นให้ตัวอย่างประกอบคำถาม

มาตรฐานสาระการเรียนรู้กับไตรสิกขา มาตรฐาน ส๑.๑ ปัญญา Knowledge มาตรฐาน ส๑.๒ สมาธิ Attitude มาตรฐาน ส๑.๓ ศีล Process