พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
การดื่มแอลกอฮอล์และการบริหารจิตและการเจริญปัญญา
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
อิทธิพลของการเกิดฮอร์โมนเพศ
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
ผู้วิจัย รุจิรัชช์ญานันท์ ชัยแก้ว
สาเหตุการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนหญิง ในลักษณะความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ศึกษาเฉพาะกรณีศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบ้านปราณี ผู้วิจัย สุวาทินี
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
ร่างกายและสมองของนักเรียน รักษาไว้ให้แข็งแรง
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
พฤติกรรมของสัตว์ (behavior)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
ผู้จัดการเกษตรแปลงใหญ่
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
เรื่อง อันตรายของเสียง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
Operant Behavior (การกระทำทำให้เกิดการเรียนรู้)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
แผ่นดินไหว.
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
พฤติกรรมของสัตว์ กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ระบบงานรับสมัครนักเรียนใหม่ 61
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
10 ข้อแตกต่างระหว่าง ผู้ชนะ กับ ผู้แพ้
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
พุทธวิธีในการสอน.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) พฤติกรรม คือ กิริยาที่สิ่งมีชีวิตแสดงออกมาเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน

ประเภทของพฤติกรรม มีมาแต่กำเนิด เกิดจากการเรียนรู้ การฝังใจ Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) มีมาแต่กำเนิด เกิดจากการเรียนรู้ การฝังใจ การเคลื่อนที่ รีเฟล็กซ์ ความเคยชิน ไคนีซิส ธรรมดา การมีเงื่อนไข แทกซิส ต่อเนื่อง การลองผิดลองถูก การใช้เหตุผล

พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด จัดเป็นพฤติกรรมที่สำคัญ ดังนี้ ถ่ายทอดได้ทางพันธุกรรม โดยพฤติกรรมที่แสดงออกถูกกำหนดด้วยหน่วยทางพันธุกรรม จึงมีแบบแผนการตอบสนองที่คงที่แน่นอน และอาจถูกพัฒนาให้ดีขึ้นได้ในภายหลัง เกิดขึ้นได้โดยไม่ต้องอาศัยประสบการณ์หรือไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ พบทั้งในโพรทิสต์ พืช และสัตว์

พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) การเคลื่อนที่ พฤติกรรมที่สัตว์ตอบสนองต่อสิ่งเร้าแบบทิศทางการตอบสนองไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า พฤติกรรมที่สัตว์ตอบสนองต่อสิ่งเร้าแบบทิศทางการตอบสนองสัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า ไคนีซิส แทกซิส

พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) รีเฟล็กซ์ พฤติกรรมที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นอย่างรวดเร็วฉับพลันทันทีทันใด พฤติกรรมที่เกิดจากรีเฟล็กซ์หนึ่งไปกระตุ้นให้เกิดรีเฟล็กซ์อื่นๆ ทำให้เกิดพฤติกรรมย่อยๆ และพฤติกรรมต่อเนื่องกัน ธรรมดา ต่อเนื่อง

พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส)

พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นหลังจากได้รับสิ่งเร้าซึ่งพบเฉพาะในสัตว์ที่มีระบบประสาทส่วนกลาง การฝังใจ การลองผิดลองถูก ความเคยชิน การใช้เหตุผล การมีเงื่อนไข

พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) การฝังใจ พฤติกรรมการฝังใจเกิดจากการที่สัตว์ได้รับสิ่งเร้าแรกสุดภายหลังจากเกิดหรือช่วงวิกฤต ซึ่งช่วงเวลาวิกฤตอาจมีช่วงเดียวหรือหลายช่วงขึ้นกับสิ่งมีชีวิต ซึ่งเมื่อพ้นระยะนี้แล้วสัตว์จะไม่แสดงพฤติกรรมอีก แม้ว่าจะได้รับสิ่งเร้านั้นอีกก็ตาม

พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) ความเคยชิน ความเคยชินเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่สิ่งมีชีวิตลดการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ละเลย เพิกเฉย ฝ่าฝืน ดื้อรั้น กระทำต่อสิ่งเร้าที่เกิดอยู่บ่อยๆจนกระทั่งท้ายที่สุดจะไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้น ทั้งๆที่ยังมีสิ่งเร้านั้นอยู่

พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) การมีเงื่อนไข พฤติกรรมการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไขเป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข ไปชักนำให้สิ่งมีชีวิตตอบสนองเหมือนกับได้รับสิ่งเร้าแท้หรือสิ่งเร้าที่ไม่มีเงื่อนไขจนกระทั่งสุดท้ายแม้ว่าจะไม่มีสิ่งเร้าแท้ แต่เพียงแค่สิ่งเร้าไม่แท้เพียงอย่างเดียวก็สามารถกระตุ้นให้สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นตอบสนองได้

พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) การลองผิดลองถูก พฤติกรรมที่สิ่งมีชีวิตตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยไม่สามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าได้ ลองทำดูก่อนถ้าทำถูกต้องก็จะทำต่อไป ถ้าทำผิดก็ลดการกระทำนั้นลง และที่สำคัญคือการลองผิดลองถูกนั้นไม่สามารถสรุปผลหรือคาดคะเนผลที่จะเกิดขึ้นได้

พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) การใช้เหตุผล พฤติกรรมการใช้เหตุผลเป็นพฤติกรรมที่สิ่งมีชีวิตสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าได้ มีแผนการ ในการแก้ไขปัญหาเป็นลำดับขั้นตอน สามารถคาดคะเนผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นได้ เป็นพฤติกรรมที่ส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากการคิดหาเหตุผล โดยอาศัยความรู้ หรือความจำที่บันทึกไว้ในสมอง โดยเฉพาะส่วน Cerebrum

ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม แทกซิส ไคนีซิส การเคลื่อนที่ ฝังใจ เคยชิน มีเงื่อนไข ลองผิดลองถูก ใช้เหตุผล เกิดจากการเรียนรู้ มีมาแต่กำเนิด รีเฟล็กซ์ หน้า กลาง หลัง พฤติกรรม ประโยชน์ของฮอร์โมน ส่วนต่างๆของสมอง ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม ระบบประสาท ฮอร์โมนและต่อมไร้ท่อ การทำงานของ ระบบประสาท ต่อมไร้ท่อ รังไข่ อัณฑะ ต่อมหมวกไต ต่อมไพเนียล Hypothalamus อวัยวะรับสัมผัส ต่อมตับอ่อน ต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์ ผิวหนัง ตา หู จมูก ลิ้น