ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ “ฐานข้อมูล”
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การเพิ่ม ลบ จำกัดสิทธิ์ User จัดทำโดย 1. นายธัชนนท์ ต๊ะต้องใจ 1-B เลขที่ 4 2. นาย ไพบูรณ์ อินทะซาว 1-B เลขที่ 23.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
ระบบจัดการพนักงาน E-Clocking. E-clocking Application คืออะไร E-clocking ย่อมาจากคำว่า Easy Clocking ก็คือทำงานและ ดูแลข้อมูลการบริหารบันทึกเวลาการทำงานของพนักงานแบบ.
1 การนำใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการชุมชน นรินทร บุญพราหมณ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โครงการความร่วมมือเพื่อแก้ปัญหาความยากจน.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
หัวข้อเนื้อหา บทที่ 1 บทนำ (ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น) การนำฐานข้อมูลมาประยุกต์ใช้ ข้อมูลและสารสนเทศ ความสำคัญของระบบฐานข้อมูลต่อการบริหารและการตัดสินใจ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ฐานข้อมูล.
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับข้อมูล
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเครื่องแม่ข่ายสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บทที่ 4 ความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
ภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
บทที่ 4 การให้บริการแพลตฟอร์ม Platform as a service(PaaS) 4.1 ความหมาย
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล Introduction to Database

ลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล

ลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล บิต (bit) ย่อมาจาก Binary Digit ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 1 บิต จะแสดงได้ 2 สถานะคือ 0 หรือ 1

ลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล ไบต์(byte) คือ นำ บิต หลายๆ บิต มาเรียงต่อกัน จำนวน 8 บิต มาเรียงเป็น 1 ชุด เรียกว่า 1 ไบต์ เช่น 10100001 หมายถึง ก 10100010 หมายถึง ข

ลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล เขตข้อมูล(Field) คือ การนำ ไบต์ (byte) หลายๆ ไบต์ มาเรียงต่อกัน เช่น เขตข้อมูล Name ใช้เก็บชื่อ เช่น เขตข้อมูล LastName ใช้เก็บนามสกุล เป็นต้น

ลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล ระเบียน(Record) คือ การนำเขตข้อมูล หลายๆ เขตข้อมูล มาเรียงต่อกัน เรียกว่า ระเบียน (record) เช่น ระเบียน ที่ 1 เก็บ ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ของ นักเรียนคนที่ 1 เป็นต้น

ลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล แฟ้มข้อมูล(File) คือ การเก็บระเบียนหลายๆระเบียน รวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูล นักเรียน จะเก็บ ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ของนักเรียน จำนวน 500 คน เป็นต้น

ลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล ฐานข้อมูล(Database) คือ การจัดเก็บ แฟ้มข้อมูล หลายๆ แฟ้มข้อมูล ไว้ภายใต้ระบบเดียวกัน เช่น เก็บ แฟ้มข้อมูล นักเรียน อาจารย์ วิชาที่เปิดสอน เป็นต้น

ลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล Database Personnel file Department file Payroll file (Project database) Files 098-40-1370 Fiske, Steven 01-05-1985 549-77-1001 Buckley, Bill 02-17-1979 005-10-6321 Johns, Francine 10-07-1997 (Personnel file) Recordประกอบด้วย รหัส , นามสกุลและชื่อ,วันที่จ้างงาน Records 098-40-1370 Fiske, Steven 01-05-1985 Fields Fiske Field นามสกุล Characters (Byte) 1000100 ตัวอักษร F ใน ASCII Bit 0,1

“รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลแบบเดิม”

ระบบแฟ้มข้อมูล (File-based System) แฟ้มข้อมูลที่ใช้ในระบบไฟล์จะแยกจากกันเป็นเอกเทศ และอาจไม่มีความสัมพันธ์กัน โดยส่วนใหญ่ข้อมูลและโปรแกรมมักรวมอยู่ด้วยกันเป็นแฟ้มข้อมูล

ระบบแฟ้มข้อมูล (File-based System) โปรแกรมบัญชี การขาย ลูกค้า ฝ่ายบัญชี โปรแกรมการขาย การขาย ลูกค้า สินค้า ฝ่ายขาย โปรแกรมฝ่ายบุคคล พนักงาน ฝ่ายบุคคล

ข้อจำกัดของการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูล ข้อมูลถูกแบ่งและเก็บแยกจากกัน ข้อมูลมีความซ้ำซ้อนกัน มีความขึ้นต่อกันของข้อมูล รูปแบบข้อมูลไม่ตรงกัน โปรแกรมที่ใช้งานมีความคงที่ไม่ยืดหยุ่น

ข้อจำกัดของการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูล ข้อมูลถูกเก็บและเก็บแยกจากกัน เมื่อข้อมูลต่าง ๆ ถูกเก็บกันไว้คนละไฟล์ หากต้องการนำข้อมูลต่าง ๆ มาสร้างเป็นรายงาน โปรแกรมเมอร์ต้องสร้างไฟล์ชั่วคราว(Temporary file)ขึ้นมา เพื่อดึงข้อมูลต่าง ๆ จากไฟล์ต่าง ๆ มารวมกันก่อน แล้วค่อยสร้างเป็นรายงาน

ข้อจำกัดของการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูล ข้อมูลมีความซ้ำซ้อน สืบเนื่องจากข้อมูลถูกเก็บแยกจากกัน ทำให้ไม่สามารถควบคุมความซ้ำซ้อนข้อมูลได้ ทำให้สูญเสียพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากขึ้น และก่อให้เกิดความผิดพลาดในการดำเนินการกับข้อมูล 3 ลักษณะ ได้แก่ ความผิดพลาดจากการเพิ่มข้อมูล(Insertion anomalies) ความผิดพลาดจากการปรับปรุงข้อมูล(Modification anomalies) ความผิดพลาดจากการลบข้อมูล(Deletion anomalies)

ข้อจำกัดของการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูล มีความขึ้นต่อกันของข้อมูล เนื่องจากโครงสร้างทางกายภาพและการจัดเก็บข้อมูลถูกสร้างโดยการเขียนโปรแกรมประยุกต์(Application program) ดังนั้นหากต้องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูล เช่น ชื่อของพนักงาน จากเดิม 20 ตัวอักษร เป็น 30 ตัวอักษร มีขั้นตอนการทำงานดังนี้ 1. เปิดไฟล์หลักพนักงานเพื่ออ่านข้อมูล 2. เปิดไฟล์ชั่วคราวที่มีโครงสร้างคล้ายไฟล์หลัก แต่ปรับโครงสร้างของชื่อพนักงาน จาก 20 ตัวอักษร เป็น 30 ตัวอักษร 3. อ่านข้อมูลจากไฟล์หลัก และย้ายไปเก็บไว้ในไฟล์ชั่วคราว จนกระทั่งครบทุกรายการ 4. ลบไฟล์หลักทิ้ง 5. เปลี่ยนชื่อไฟล์ชั่วครามให้ชื่อเดียวกับไฟล์หลัก

ข้อจำกัดของการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูล รูปแบบข้อมูลไม่ตรงกัน โครงสร้างข้อมูลจะขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประยุกต์ ถ้าแต่ละฝ่ายใช้ภาษาในการเขียนต่าง ๆ กัน ก็อาจทำให้โครงสร้างข้อมูลของแฟ้มไม่ตรงกัน ทำให้ไม่สามารถนำไฟล์ข้อมูลมาใช้ร่วมกันได้

ข้อจำกัดของการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูล โปรแกรมที่ใช้งานคงที่ไม่ยืดหยุ่น ระบบแฟ้มข้อมูล มีความขึ้นกับโปรแกรมประยุกต์ ข้อมูลหรือรายงานต่าง ๆ จะถูกกำหนดรูปแบบตายตัวในโปรแกรมแล้ว ดังนั้นหากต้องการรายงานใหม่ จะต้องให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมขึ้นมาใหม่ ทำให้เสียค่าใช้จ่าย

“ระบบฐานข้อมูล”

ความหมายของฐานข้อมูล ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง โครงสร้างของการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันไว้ในที่เดียวกัน เพื่อให้สามารถนำข้อมูลมาประมวลเพื่อช่วยในการตัดสินใจ และสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ในการจัดการข้อมูลในฐานข้อมูลจะใช้ซอฟต์แวร์ประเภท ระบบจัดการฐานข้อมูล(Database Management System : DBMS)

ฐานข้อมูล(Database) ฐานข้อมูลมีส่วนที่ทำหน้าที่ในการอธิบายความหมายของรายการข้อมูลที่เก็บอยู่ในฐานข้อมูลด้วย เรียกส่วนนี้ว่า บัญชีระบบ(System catalog) หรือ พจนานุกรมของข้อมูล(Data Dictionary) หรือ เมตาดาต้า(Meta - data)

ฐานข้อมูล(Database) โครงสร้างของข้อมูลจะถูกแยกออกจากโปรแกรมประยุกต์และเก็บเอาไว้ในส่วนที่เรียกว่า “ฐานข้อมูล” ถ้ามีการเพิ่มหรือปรับปรุงโครงสร้างของข้อมูลก็จะไม่มีผลกระทบกับโปรแกรมประยุกต์

ระบบฐานข้อมูล (Database System) โปรแกรมบัญชี ฝ่ายบัญชี ลูกค้า พนักงาน การขาย สินค้า DBMS โปรแกรมการขาย ฝ่ายขาย Database โปรแกรมฝ่ายบุคคล ฝ่ายบุคคล

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการจัดการข้อมูลในฐานข้อมูล DBMS จะทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างฐานข้อมูลกับโปรแกรมที่มาใช้งานฐานข้อมูลและผู้ใช้งานฐานข้อมูล ที่ติดต่อไปยังฐานข้อมูลเพื่อทำงานที่ผู้ใช้ต้องการให้สำเร็จ เช่น การจัดเก็บข้อมูลลงในฐานข้อมูล , การค้นหาข้อมูลที่ต้องการออกมาแสดง หรือ การลบข้อมูล เป็นต้น

หน้าที่ของ DBMS จัดการพจนานุกรมของข้อมูล(Data dictionary management) จัดการการจัดเก็บข้อมูล(Data storage management) การแปลงข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล(Data transformation and presentation) การจัดการด้านความปลอดภัย(Security management) ควบคุมการเข้าใช้งานของผู้ใช้พร้อมกัน(Multiuser accesss control)

หน้าที่ของ DBMS การจัดการเรื่องการสำรองและกู้คืนข้อมูล(Backup and recovery management) การจัดการความคงสภาพของข้อมูล(Data integrity management) ภาษาในการเข้าถึงข้อมูลและส่วนประสานผู้ใช้ในโปรแกรมประยุกต์(Database access languages and application programming interfaces)

การประยุกต์ใช้ระบบงานฐานข้อมูล การซื้อของจากซูเปอร์มาเก็ต การซื้อของโดยใช้บัตรเครดิต การจองตั๋วเครื่องบินผ่านตัวแทนจำหน่าย การใช้บริการห้องสมุด การใช้งานอินเทอร์เน็ต การเรียนในมหาวิทยาลัย การบริหารในองค์กร ฯลฯ อีกมากมาย

องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล ฮาร์ดแวร์ Hardware ซอฟต์แวร์ Software ข้อมูล Data กระบวนการ Procedure บุคลากร People เครื่อง มนุษย์ สะพาน

ฮาร์ดแวร์(Hardware) หมายถึงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้างซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้งานฐานข้อมูล

ซอฟต์แวร์(Software) หมายถึง ระบบปฏิบัติการ , ระบบจัดการฐานข้อมูล , โปรแกรมประยุกต์ และโปรแกรมยูทิลิตี้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานในระบบงานฐานข้อมูล

ข้อมูล(Data) หมายถึง ข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูล เพื่อนำไปใช้ในการประมวลต่อไป ใน DBMS จะส่วนที่ใช้อธิบายข้อมูล ซึ่งจะเป็นข้อมูลที่บรรยายคุณลักษณะของข้อมูล(meta data)

โพรซีเยอร์(Procedure) หมายถึง คำสั่งและกฎต่าง ๆ ในขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับชุดคำสั่ง กฏเกณฑ์ในการออกแบบและการใช้งานฐานข้อมูล

บุคลากร(People) หมายถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องกับระบบงานฐานข้อมูล ทั้งส่วนที่เป็นการออกแบบและการใช้งาน เช่น ผู้ใช้ทั่วไป , นักออกแบบฐานข้อมูล , นักออกแบบระบบ

ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้งานฐานข้อมูล ผู้บริหารฐานข้อมูล(Database Administrator :DBA) นักออกแบบฐานข้อมูล(Database Designer) นักพัฒนาโปรแกรม(Application Developers) ผู้ใช้(End User)

ข้อดีของการใช้งานฐานข้อมูล มีความเป็นอิสระต่อกันระหว่างโปรแกรมและข้อมูล ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล เพิ่มความตรงกันของข้อมูล สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ บังคับให้เป็นมาตรฐานเดียวกันได้ ป้องกันและควบคุมการเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายขึ้น ลดปัญหาในการบำรุงรักษาโปรแกรม

ข้อจำกัดของระบบการจัดการฐานข้อมูล ซับซ้อน(Complexity) ขนาดใหญ่(Size) ราคาของDBMSแพง(Cost of DBMS) ราคาของฮาร์ดแวร์แพงตามไปด้วย(Additional hardware cost) ค่าใช้จ่ายในการแปลงระบบ(Cost of conversion) ผลกระทบจากความเสียหายสูง(Higher impact of a failure)

ชนิดของระบบฐานข้อมูล ในการจำแนกชนิดของระบบฐานข้อมูลมีเกณฑ์ในการแบ่งเป็น 2 ชนิดคือ แบ่งตามลักษณะการใช้งาน แบ่งตามสถานที่ตั้ง

ชนิดของฐานข้อมูล:ลักษณะการใช้งาน ฐานข้อมูลที่มีผู้ใช้คนเดียว(Single-User) บางครั้งเรียกว่า Stand alone database หรือ Desktop database

ชนิดของฐานข้อมูล:ลักษณะการใช้งาน ฐานข้อมูลที่มีผู้ใช้ครั้งละหลายคน(Multi-User) ระบบฐานข้อมูลแบบนี้จะสนับสนุนการใช้งานของผู้ใช้หลายคนในเวลาเดียวกัน

ชนิดของฐานข้อมูล : สถานที่ตั้งของฐานข้อมูล ฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์(Centralized Database System) Client Server Client Client Client

ชนิดของฐานข้อมูล : สถานที่ตั้งของฐานข้อมูล ฐานข้อมูลแบบกระจาย(Distributed Database System)