สรุปค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ • ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550 มีผลบังคับใช้ 3 สิงหาคม 2550 •

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไป ฝึกอบรมใน ประเทศ ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไป ฝึกอบรมใน ประเทศ งานบัญชีและการเงิน สำนัก ชลประทานที 17.
การดำเนินงานโครงการ เมื่อได้รับอนุมัติงบประมาณ
ค่าใช้สอยในการเดินทางไปราชการ
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
คู่มือการยืมเงินราชการและเงินทด รองราชการ วัตถุประสงค์ การยืมเงินราชการและเงินทดรอง ราชการ เป็นกระบวนการหนึ่งของการเบิก จ่ายเงินจากคลัง คู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
KM การเบิกจ่ายโครงการ กลุ่ม 3 1. นายณัฐกร ตุ้ยทา 2. นางสาวอภิวันท์ สิ้มศรีสุข 3. นางสาวศิริกาญจน์ กิตติชยานนท์
สรุปค่าใช้จ่าย ปี 59 (งบ สป.สาธารณสุข) ณ 23 ก.ย.59
โครงการประชุมทางวิชาการสายวิทยาการปลัดบัญชี
นางนิโลบล แวววับศรี ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
โดย นางละเอียด เอี่ยมสุวรรณ ผู้อำนวยการกองคลัง
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการในราชอาณาจักร
ปัญหาที่เกิดขึ้น เข้าใจไม่ถูกต้อง ระหว่างประชุมราชการ กับ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เชิญผู้เชี่ยวชาญมาประชุม ต้องจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรให้ ถูกทักท้วงจาก ผู้ตรวจสอบภายใน.
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
การจ้างงานชาวต่างชาติ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
โดย....กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การเบิกจ่ายเงิน ตามโครงการฝึกอบรม
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
กรณี เดินทางไปราชการ เพื่อเข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนาฯ
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
ค่าใช้สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ และรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่น.
ข้อสังเกตจากการตรวจสอบเอกสาร
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
โดย...กองคลัง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
สรุปค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
“มุ่งสู่ระบบธรรมาภิบาลในสหกรณ์”
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการในราชอาณาจักร
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ CoP การเงินและบัญชี ม.อ.
พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ ให้ใช้
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูลลูกจ้างชั่วคราว พ.ศ. 2545
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการต่างประเทศชั่วคราว
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ค่าใช้จ่ายเดินทาง ไปราชการ ………….. ฉบับปรับปรุงล่าสุด.
ค่าพาหนะ  ยานพาหนะประจำทาง : รถไฟ รถโดยสาร เรือประจำทาง
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ • ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550 มีผลบังคับใช้ 3 สิงหาคม 2550 • ประกาศ มช.ฉบับที่ 20/2552 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงานของ พนักงานมหาวิทยาลัย - เบี้ยเลี้ยงเดินทาง - ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ - ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปราชการ

สาระสำคัญการเบิกจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ลักษณะการเดินทาง - การเดินทางไปราชการชั่วคราว - การเดินทางไปราชการประจำ - การเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิม การเดินทางไปราชการชั่วคราว - นอกที่ตั้งสำนักงาน - สอบคัดเลือก รับการคัดเลือก - ช่วยราชการ รักษาการในตำแหน่ง รักษาราชการแทน - ข้าราชการประจำต่างประเทศระหว่างอยู่ในไทย - เดินทางข้ามแดนชั่วคราวตามข้อตกลงระหว่างประเทศ

สิทธิ ได้รับค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นตั้งแต่วันได้รับอนุมัติเดินทาง/ออกจากราชการ ผู้มีอำนาจอนุมัติ อนุมัติระยะเวลาเดินทางล่วงหน้า/หลังเสร็จ สิ้นการปฏิบัติ ราชการตามความจำเป็น ผู้ได้รับอนุมัติ ให้ลากิจ/ลาพักผ่อน ต้องขออนุมัติระยะเวลาดังกล่าวในการ เดินทางด้วย การเดินทางไปราชการประจำ  ประจำต่างสำนักงาน/รักษาการในตำแหน่ง รักษาราชการ เพื่อดำรงตำแหน่งใหม่ ณ สำนักงานใหม่  ประจำสำนักงานเดิมในท้องที่ใหม่ (ย้ายสำนักงาน)  ไปปฏิบัติงาน/ช่วยราชการมีกำหนดเวลา 1 ปีขึ้นไป  ไปช่วยราชการที่ไม่อาจกำหนดเวลาสิ้นสุด/ไม่ถึง 1 ปี แต่สั่งให้อยู่ช่วยราชการต่อ เวลาที่ครบ 1 ปีขึ้นไปเป็นการเดินทางไป ราชการประจำ

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการประจำ - เบี้ยเลี้ยงเดินทางนับออกจากที่อยู่ถึงสถานที่พักแห่งใหม่ - ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว เบิกเหมาจ่ายตามอัตรา กระทรวงการคลังกำหนด - ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็น - ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ

การเดินทางเพื่อกลับภูมิลำเนาเดิมของผู้เดินทางไปราชการ การเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิม การเดินทางเพื่อกลับภูมิลำเนาเดิมของผู้เดินทางไปราชการ ประจำในกรณีที่ออกจากราชการหรือถูกสั่งพักราชการ ข้าราชการซึ่งออกจากราชการหรือลูกจ้างซึ่งทางราชการเลิกจ้าง ค่าใช้จ่ายในการเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิม - ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ - ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว

เบี้ยเลี้ยงเดินทาง เบี้ยเลี้ยงเดินทาง แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. ประเภท ก ได้แก่ - การเดินทางข้ามเขตจังหวัดนอกที่ตั้งสำนักงานปฏิบัติราชการปกติ - การเดินทางจากอำเภออื่นเข้าสู่อำเภอเมืองในจังหวัดเดียวกัน 2. ประเภท ข ได้แก่ - การเดินทางในท้องที่ต่างอำเภอในจังหวัดเดียวกัน ยกเว้นอำเภอเมือง - การเดินทางไปราชการในท้องที่ซึ่งเป็นที่ตั้งสำนักงาน - การเดินทางในเขตกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นท้องที่ปฏิบัติราชการปกติ

อัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ข้าราชการระดับ ประเภท ก (อัตรา) ประเภท ข พนักงานมหาวิทยาลัย อัตรา 1 - 2 180 108 กลุ่มบริการทั่วไป กลุ่มบริการฝีมือ 3 - 8 210 126 อาจารย์,ผศ.นักวิจัยต้น,กลาง สายปฏิบัติการ กลุ่มปฏิบัติการทั่วไป 9 ขึ้นไป 240 144 กลุ่มบริหารจัดการ รศ, ศ. นักวิจัยสูง,เชี่ยวชาญ

การนับเวลา - เริ่มนับเวลาตั้งแต่ออกจากที่อยู่หรือสถานที่ปฏิบัติราชการปกติ จนกลับถึงสถานที่อยู่หรือที่ปฏิบัติราชการปกติ - นับ 24 ชั่วโมง เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชั่วโมง ให้นับเป็น 1 วัน - กรณีไม่พักค้าง หากนับได้ไม่เกิน 12 ชั่วโมง แต่เกิน 6 ชั่วโมง ถือเป็นครึ่งวัน - กรณีไม่เดินทางกลับหลังจากปฏิบัติราชการเสร็จสิ้นเนื่องจาก ลากิจ/พักผ่อน ให้นับถึงสิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ

ค่าเช่าที่พัก ระดับ กรมบัญชีกลาง พนักงานฯ (มช.) อัตรา 1 - 2 เหมาจ่าย คืนละ 1,000 กลุ่มบริการทั่วไป, กลุ่มบริการฝีมือ เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 1,000.- (แนบใบเสร็จและใบแจ้งรายการ) 3-8 สายวิชาการ ผศ.,นักวิจัยต้น, กลาง,ผู้บริหารต้น กลาง ,กลุ่มปฏิบัติงานทั่วไป,กลุ่มวิชาชีพเฉพาะ เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 1,600.- 9 คืนละ 1,600 สายวิชาการ รศ.,ศ นักวิจัยระดับสูง ,นักวิจัยเชียวชาญ เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 2,500.-(แนบใบเสร็จและใบแจ้งรายการ) 10 ขึ้นไป จ่ายจริงไม่เกิน คืนละ 2,500 กรณีท้องที่ที่มีค่าครองชีพสูง/เป็นแหล่งท่องเที่ยวหัวหน้าส่วนราชการอนุมัติให้เบิกเพิ่มได้ไม่เกิน 25%

ค่าพาหนะ - ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ (รับจ้าง) - ค่าเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก - ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของ ของผู้เดินทาง  นิยามพาหนะประจำทาง  - บริการทั่วไปประจำ - เส้นทางแน่นอน - ค่าโดยสาร ค่าระวางแน่นอน หลักเกณฑ์ปกติ ให้ใช้ยานพาหนะประจำทางเบิกเท่าที่จ่ายจริงและประหยัด *** รถไฟ ประเภทรถด่วน ด่วนพิเศษ ชั้นที่ 1 นั่งนอนปรับอากาศ เบิกได้เฉพาะ ซี 6 ขึ้นไป ***

 ค่าพาหนะรับจ้าง   ดำรงตำแหน่งระดับ 6 ขึ้นไป เบิกได้ในกรณี ดังนี้  ไป – กลับ ระหว่างที่อยู่ ที่พัก หรือที่ทำงาน กับสถานี ยานพาหนะประจำทาง / สถานที่จัดยานพาหนะ ภายในจังหวัดเดียวกัน ได้เท่าที่จ่ายจริง ถ้าข้ามเขตจังหวัด  เขตติดต่อหรือผ่าน กทม. เที่ยวละไม่เกิน 600 บาท  เขตติดต่อจังหวัดอื่น เที่ยวละไม่เกิน 500 บาท  ไป – กลับ ระหว่างที่อยู่ ที่พัก กับที่ทำงานชั่วคราวในจังหวัด เดียวกัน (ยกเว้นการสอบคัดเลือก)  ไปราชการในเขต กทม.  ระดับ 5 ลงมา ต้องเป็นกรณีมีสัมภาระเดินทาง

พาหนะส่วนตัว   ต้องได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชา  เบิกเงินชดเชยตามระยะทาง - รถยนต์ กม. ละ 4 บาท - รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท  คำนวณระยะทางตามเส้นทางกรมทางหลวง/หน่วยงานอื่น ถ้าไม่มีให้ผู้เดินทางรับรอง  เครื่องบิน ระดับ 6 ขึ้นไป ชั้นประหยัด ระดับ 9 ชั้นธุรกิจ ระดับ 10 ขึ้นไป ชั้นหนึ่ง  ระดับ 5 ลงมา กรณีมีความจำเป็นเร่งด่วน เบิกได้ชั้นประหยัด  ไม่เข้าหลักเกณฑ์ข้างต้นให้เบิกได้เทียบเท่าภาคพื้นดิน ในระยะทางเดียวกัน

สรุปค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุม ระหว่างประเทศ พ.ศ.2549 ประกาศ ณ วันที่ 6 กันยายน 2549 ระหว่างประเทศ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552 ประกาศ ณ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2552 การฝึกอบรม หมายถึง การอบรม การประชุมวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การสัมมนาทาง วิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ การฝึกศึกษา การดูงาน การ ฝึกงาน หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีโครงการ หรือหลักสูตรและช่วงเวลาจัดที่แน่นอน ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคคลหรือ เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยไม่มีการรับปริญญาหรือประกาศนียบัตร วิชาชีพ แยกเป็น 3 ประเภท คือ

การฝึกอบรมประเภท ก คือ การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับทักษะพิเศษ ข้าราชการตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ และระดับทรงคุณวุฒิ ข้าราชการตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับสูง ข้าราชการตำแหน่งประเภทบริหารระดับต้นและระดับสูง หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า การฝึกอบรมประเภท ข คือ การฝึกอบรมที่มีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการตำแหน่งประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน ระดับชำนาญงานและระดับอาวุโส ข้าราชการตำแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ ข้าราชการตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับต้นหรือ ตำแหน่งที่เทียบเท่า การฝึกอบรมบุคคลภายนอก คือ การฝึกอบรมที่ผู้ได้รับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งมิใช่บุคลากรของรัฐ โครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมที่ส่วนราชการเป็นผู้จัด หรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่นต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ จึงเบิกค่าใช้จ่ายได้

บุคคลที่เบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ได้แก่ 1. ประธานในพิธีเปิดหรือปิดการฝึกอบรม แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม 2. เจ้าหน้าที่ 3. วิทยากร 4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 5. ผู้สังเกตการณ์ อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร ระดับการฝึกอบรม ระดับการฝึกอบรมวิทยากรเป็น วิทยากรที่มิใช่บุคลากรของรัฐ บุคลากรของรัฐ (อัตรา/ช.ม.) (อัตรา/ช.ม.) การฝึกอบรมประเภท ข ไม่เกิน 600 บาท ไม่เกิน 1,200 บาท และบุคคลภายนอก การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 800 บาท ไม่เกิน 1,600 บาท

เกณฑ์การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร 1. การฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการบรรยาย ให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้ ไม่เกิน 1 คน 2. การฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นอภิปรายหรือสัมมนาเป็นคณะ ให้จ่ายค่าสมนาคุณ วิทยากรไม่เกิน 5 คน 3. การฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการแบ่งกลุ่มฝึกภาคปฏิบัติ แบ่งกลุ่มอภิปรายหรือ สัมมนา หรือแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม ให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน ข้อสังเกต 1. การนับชั่วโมงการฝึกอบรมให้นับตามเวลาที่กำหนดในตารางฝึกอบรม โดยไม่ ต้องหักเวลาที่พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม แต่ละชั่วโมงการฝึกอบรม ต้องมีกำหนดเวลาไม่น้อยกว่า 50 นาที กรณีกำหนดเวลาไม่ถึง 50 นาที แต่ไม่ น้อยกว่า 25 นาที ให้เบิกจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้กึ่งหนึ่ง 2.การฝึกอบรมใดที่มีวิทยากรเกินกว่าจำนวนที่กำหนดไว้ให้เฉลี่ยจ่ายค่าสมนาคุณ วิทยากรไม่เกินภายในวงเงินที่จ่ายได้ตามเกณฑ์

ค่าอาหาร (บาท:วัน:คน) ระดับการฝึกอบรม จัดในสถานที่ของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ จัดในสถานที่ของเอกชน ครบทุกมื้อ ไม่ครบ ฝึกอบรมประเภท ข และบุคคลภายนอก ไม่เกิน 500 ไม่เกิน 300 ไม่เกิน 800 ไม่เกิน 600 ฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 700 ไม่เกิน 1,000 หมายเหตุ จัดครบทุกมื้อ คือ อาหารเช้า/กลางวัน/เย็น

ค่าเช่าที่พัก (บาท:วัน:คน) - กรณีผู้จัดไม่ได้จัดที่พักให้บุคคลภายนอก ให้เบิกจ่ายในลักษณะเหมาจ่าย ไม่เกินคนละ 500 บาท ต่อวัน - กรณีเบิกค่าลงทะเบียน ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ในอัตราที่ส่วนราชการ หรือหน่วยงานผู้จัดเรียกเก็บ ระดับการฝึกอบรม ค่าเช่า ห้องพักเดี่ยว ค่าเช่าห้องพักคู่ หมายเหตุ การฝึกอบรมประเภท ข และบุคคลภายนอก ไม่เกิน 1,200 บาท ไม่เกิน 700 ให้พักรวมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป(ห้องพักคู่) การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 2,000 บาท ไม่เกิน 1,100