คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ เกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 20 ของการจัดซื้อ ร่วมยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุ ทันตกรรม มูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ของจังหวัดลำปาง คิดเป็นร้อยละ 30.53 (ผ่านเกณฑ์เป้าหมาย) รอบที่ 2 ข้อมูล ไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2561
ร้อยละของมูลค่าจัดซื้อร่วม มูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ของ จังหวัดลำปาง ณ ปีงบประมาณ 2561 โรงพยาบาล ร้อยละของมูลค่าจัดซื้อร่วม (ไตรมาสที่ 1) (ไตรมาสที่ 2) ลำปาง 19.93 21.46 แม่เมาะ 69.13 68.20 เกาะคา 66.62 63.55 เสริมงาม 79.15 82.95 งาว 76.81 79.51 แจ้ห่ม 85.46 85.60 วังเหนือ 77.73 74.53 เถิน 69.34 75.57 แม่พริก 75.14 75.00 แม่ทะ 77.76 78.23 สบปราบ 67.35 72.64 ห้างฉัตร 76.75 76.78 เมืองปาน 66.54 71.98 รวม 29.48 30.53
Insert the title of your subtitle Here ร้อยละมูลค่าซื้อร่วมแต่ละเวชภัณฑ์ (รวมทุกโรงพยาบาล) ณ สิ้นไตรมาส 2 ปีงบประมาณ 2561 Insert the title of your subtitle Here วัสดุการแพทย์มีการจัดซื้อร่วมน้อย เนื่องจากโรงพยาบาลลำปาง มีวัสดุการแพทย์ราคาแพงที่ใช้เฉพาะในโรงพยาบาลจึงไม่สามารถจัดซื้อร่วมระดับจังหวัดได้
ข้อชื่นชม โอกาสพัฒนา 1 2 1 ทุกอำเภอมีมูลค่าจัดซื้อร่วมมากกว่าร้อยละ 20 มีการระดมความร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาการเงินของโรงพยาบาลชุมชน โดยการลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้ โอกาสพัฒนา 1 ระดมความร่วมมือให้มีการใช้โปรแกรม INVC ที่ใช้จัดเก็บข้อมูลคลังยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ง เนื่องจากเป็นโปรแกรมที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษารายปี
ปัญหา/อุปสรรคข้อเสนอแนะ ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อเสนอแนะที่ให้ต่อหน่วยรับตรวจ วัสดุการแพทย์ยังมีการจัดซื้อร่วมน้อย โดยมีการจัดซื้อร่วมร้อยละ 8 ซึ่งไม่ถึงร้อยละ 20 1.จังหวัดควรสนับสนุนการดำเนินงานจัดซื้อร่วมตามแผนงาน ของปีงบประมาณ 2561 ต่อไป 2.ในด้านวัสดุการแพทย์ควรพิจารณาการจัดซื้อร่วมของรพ.ลำปาง ในระดับเขตเพิ่มขึ้น เพื่อให้มูลค่าจัดซื้อร่วมเป็นไปตามเป้าหมายมากกว่าร้อยละ 20 ภาพรวมการเงินของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดลำปาง เมื่อเทียบรายได้กับรายจ่าย พบว่าในปี 2561 ติดลบ 100 ล้านบาท 1.ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากโรงพยาบาลที่เคยประสบปัญหาวิกฤติทางการเงิน และประสบความสำเร็จในการแก้ไขปัญหา 2.นำวิธีการแก้ปัญหาวิกฤติทางการเงินของโรงพยาบาล ที่ได้เรียนรู้มาปรับใช้ให้เหมาะสมตามบริบทของพื้นที่