อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(Some Extension of Limit Concept)
Advertisements

ลิมิตซ้ายและลิมิตขวา
โครงการยาต้านไวรัสเอดส์ สปส.
Local Anesthetic Syringe and Components. Anesthetic Aspirating Syringe  To administer a local anesthetic.
การสร้าง Shortcut คลิกขวาที่ Fileหรือ Folder หรือสิ่งที่จะสร้างเป็น Shortcut เลือกคำสั่ง.
Window XP.
คู่มือการส่งงาน ใน LMS. เลือกรายวิชาที่ต้องการจะส่งงาน (INT105)
รักษ์โลก กับวิศวกรรมเคมี ตอนที่ 1
Self Esteem ดร. กรรณิกา คำดี.
7. ผลิตภัณฑ์จากการทำประมงทาง ทะเลที่ได้โดยเรือที่ลงทะเบียนใน ประเทศสมาชิกและชักธงของประเทศ สมาชิกรวมทั้งผลิตภัณฑ์อื่นที่ได้จาก พื้นน้ำ ท้องทะเลและใต้ท้องทะเล.
Zhang Hongju For พุทธวรรณ ขันต้นธง
Aj Piramon Karnkunwithit.  การเมือง  เศรษฐกิจภายในประเทศและเศรษฐกิจโลก  ภัยธรรมชาติ  เทคโนโลยี  พฤติกรรมผู้บริโภค  กฎหมาย  สภาพแวดล้อม  คู่แข่ง.
ACCESS Control.
การพัฒนาการบรรจุหีบห่อ เครื่องมือนักศึกษา เหตุผลและความจำเป็น - เนื่องจากทางคลินิก มีการจัดเตรียมซอง ให้นักศึกษาใช้ซีล เครื่องมือส่วนตัว ละ เครื่องมือที่ยืมจากคลินิกโดยให้นักศึกษา.
My Profile to Welcome. นาย ภวัฐพงศ์ น้อยเลิศ Sir Moss..Happy Birthday to me.. “ 4 มิถุนายน 2534 “
การวางแผนความต้องการวัสดุ Material Requirements Planning : MRP
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
ผู้อำนวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน สำนักความปลอดภัยแรงงาน
วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อ.ชนกนันท์ บางเลี้ยง
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
อยู่ระหว่างดำเนินการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โรงเรียนของเรา.
เคมีอุตสาหกรรม พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวัน
นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6
ทรัพยากรการท่องเที่ยว (TIM 1301)
1.3 มิติสิ่งแวดล้อม การจัดแบ่งสิ่งแวดล้อมให้เป็นมิติหรือเป็นกลุ่ม ช่วยให้มุมมองในการจัดการครอบคลุมและเป็นระบบมากยิ่งขึ้น การจัดแบ่งมิติ คำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสรรพสิ่งที่อยู่รอบข้างเป็นสำคัญ.
“ชีวิตที่ไร้กังวล” A WORRY FREE LIFE. “ชีวิตที่ไร้กังวล” A WORRY FREE LIFE.
บทที่ 6 การจัดการของเสียอันตราย (Hazardous waste management)
แนวทางและประสบการณ์ การฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
การทำงานเป็นทีม.
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า
1.3 มิติสิ่งแวดล้อม การจัดแบ่งสิ่งแวดล้อมให้เป็นมิติหรือเป็นกลุ่ม ช่วยให้มุมมองในการจัดการครอบคลุมและเป็นระบบมากยิ่งขึ้น การจัดแบ่งมิติ คำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสรรพสิ่งที่อยู่รอบข้างเป็นสำคัญ.
ทิศทางการขับเคลื่อนหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
ว33241 ชีววิทยา 4 บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
วิชากฎหมายพาณิชย์ 2 อ.สุธาสินี สุภา
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
โดย ทภ.อำไพ เณรบำรุง. โดย ทภ.อำไพ เณรบำรุง บทคัดย่อ เนื่องจากเครื่องมือที่ใช้ในทางทันตกรรมบางชนิดมีความแหลมคม เช่น เครื่องขูดหินปูน เครื่องมือตกแต่งวัสดุอุดฟัน.
ประเมินผลการจัดกิจกรรม โครงการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นายรณกฤต อุดมสุขโกศล.
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) ด้านการประมง
แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่
Customs of different cultures
ประชุมเชิงปฏิบัติ การบริหารการเปลี่ยนแปลงกรมอนามัย มุ่งสู่องค์กรนำด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย วันที่
3. การอนุรักษ์ป่าไม้ กระทำได้โดย
HAND BAG 1 HM-01034B 42x31x16 น้ำตาล HM x36x6 แทน HL-01043B
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
Calculus I (กลางภาค)
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
เวชระเบียน และ สถิติ Medical Record and Statistics
การเขียนภาพร่าง Free hand Sketching สัปดาห์ที่ 1-3 สัปดาห์ที่ 2.
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
1. พระเยซูทรงต้องการให้เราเป็น เหมือนพระองค์
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
บรรยายครั้งที่ 7 - กราฟิกวิศวกรรม 1
“ทิศทางความร่วมมือในการลดการประสบอันตรายและโรคจากการทำงาน”
ประธานมูลนิธิสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
จรรยาบรรณวิชาชีพครู 9 ประการ
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
1.3 มิติสิ่งแวดล้อม การจัดแบ่งสิ่งแวดล้อมให้เป็นมิติหรือเป็นกลุ่ม ช่วยให้มุมมองในการจัดการครอบคลุมและเป็นระบบมากยิ่งขึ้น การจัดแบ่งมิติ คำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสรรพสิ่งที่อยู่รอบข้างเป็นสำคัญ.
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่

ตั้งขึ้นภายใต้แนวคิด. โรงเรียนสำหรับนักเรียนที่มี “จิตอาสา ทางด้านสุขภาพ” เรียนกันด้วยหลักสูตรที่ต้องการจะให้เป็นพื้น - ฐานแก่ อสม. ได้เรียนรู้ทักษะการทำงานอย่างเข้าใจถ่องแท้ เรียนในสิ่งที่อยากรู้ และรู้จักคิดแบบเป็นระบบ เพื่อให้ สามารถขยายบทบาทตัวเองไปสู่การทำงานในมิติอื่น ๆ ตลอดจนได้มีโอกาสปฏิรูปตัวเองจากกรอบงานเฉพาะแบบ เดิม ๆ ที่เป็นเสมือนผู้ช่วยของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จน สามารถสร้างศักยภาพให้เกิดขึ้นในงานได้อย่างแท้จริง

วัตถุประสงค์ 1.ส่งเสริมการเรียนรู้ของ อสม.และชุมชนจากกิจกรรม 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม . ใหเปนผู้ที่สามารถถ่ายทอดความรู้สำหรับ อสม.และประชา ผู้สนใจและขยายเครือขายสูชุมชนอื่น โดย  - ส่งเสริมให้ อสม. กล้าคิด กล้าทำ และเป็นผู้นำด้านสุขภาพที่มีคุณภาพและได้เรียนรู้อย่างเป็นระบบโดยมีการใช้สื่อการเรียนรู้อย่างเหมาะสม - ส่งเสริมให้ อสม. ได้เพิ่มพูนความรู้และได้รับการพัฒนาศักยภาพ   ตามความต้องการของ อสม. ตามสภาพปัญหาของพื้นที่  ตามยุทธศาสตร์ของ คพสอ.สารภี และ ตามนโยบายของภาครัฐ 3.ส่งเสริมการจัดทำชุดความรู้จากประสบการณ์การทำงานของ อสม. และสร้างนวัตกรรมชุมชน เพื่อถ่ายทอดสู่กลุ่มเป้าหมายได้ง่ายและครอบคลุม

โครงสร้างคณะกรรมการที่ปรึกษา โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนและโรงเรียนอสม ตำบลหนองผึ้ง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ลำดับที่ รายนามคณะกรรมการ ตำแหน่งในชุมชน ตำแหน่งในโรงเรียนนวัตกรรม ๑ สจ.ศุภกานต์ สุประการ สมาชิกสภาจังหวัด เขตอำเภอสารภี   ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษา ๒ พออ.ปัญญา หล้าดวงดี นายกเทศมนตรีตำบลหนองผึ้ง ผู้อำนวยการ รน.สช. ต.หนองผึ้ง ๓ นายวิสูตร สุริยะ กำนันตำบลหนองผึ้ง รองผู้อำนวยการ รน.สช. ต.หนองผึ้ง 4 นายไพฑูรย์ ตุ่นคำ ผอ.รพ.สต.หนองผึ้ง ผู้จัดการโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนตำบลหนองผึ้ง 5. นางอัมพร กริ่งกรับ ประธาน อสม.ตำบลหนองผึ้ง ครูใหญ่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนตำบลหนอง 6. นายธรรมศักดิ์ พุทธทอง ปลัดเทศบาลตำบลหนองผึ้ง รองประธานคณะกรรมการที่ปรึกษา 7. นายอนุชา แสนไฝ สาธารณสุขอำเภอสารภี 8. นายรักษ์นรินทร์ แก้วมีศรี ผอ.กองสาธารณสุข คณะกรรมการที่ปรึกษา 9. คุณสมาน โพธิปัน ผอ.รร.วัดพระนอนหนองผึ้ง 10. ดร.ถวิล ศิลาเดช ผอ.รร.วัดกองทราย 11. ดต.บุญทา ขันตี ประธานชมรมผู้สูงอายุตำบลหนองผึ้ง

12. นายอนุสรณ์ ไม้สน รองนายกเทศบาลตำบลหนองผึ้ง คณะกรรมการที่ปรึกษา 13. นางอังคณา บุญอำนวย ศูนย์พัฒนาอาชีพชุมชนตำบลหนองผึ้ง 14. นางเอื้องทิพย์ กิรติกุลธรรม ศูนย์ส่งเสริมอาชีพสตรี แม่บ้านหนองผึ้ง(บ้านฝ้ายภคิน)   15. นายนภดล คำมา ปราชญ์ชาวบ้าน 16. คุณทนงศักดิ์ กันยา ๑8. คุณไพรินทร์ ศรีวงค์ ๑9. นายสิทธิกร ศรีราชวงศ์ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ ๒ 20. นางประสิทธิ์ สังข์แดง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 3 21. นายสมัย วันดี ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 4 22. นายศรีทน เสนดี ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 5 23. นายชโลธร กล่ำสุด ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 6 24. นางแสงหล้า สุยราช ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 7 25. นายเสาร์คำ ประเสริฐ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 8 26. นางนันทิกา แก้วน้อย ประธานสภาวัฒนธรรมตำบลหนองผึ้ง 27. นางระเบียบ รังแก้ว ข้าราชการครูบำนาญ

โครงสร้างโรงเรียน อสม. ตำบลหนองผึ้ง เปาหมายผูเรียนในโรงเรียน อสม. ตำบลหนองผึ้งประกอบดวย ๑. อสม.ตำบลหนองผึ้ง ทุกคน จํานวน ๑11 คน ๒. ประชาชน นักเรียน/นักศึกษาที่สนใจ

หลักสูตรการเรียนการสอนแบงไดเปน ๓วิชาหลัก 1.วิชาพื้นฐาน/บังคับ เปนวิชาที่ อสม.ทุกคนตองเรียน และ ประเมินผลการเรียน ทดสอบผาน เพราะเปนวิชาเกี่ยวกับความรู ในการปฏิบัติงานดานงานสาธารณสุขเบื้องตน ของ อสม.ทุกคน เปนเกณฑบังคับเบื้องตน เชน การตรวจสุขภาพ การตรวจคัดกรองโรคเบื้องตน การปฐมพยาบาล งานเฝาระวังคุมครองผูบริโภค งานปองกัน และควบคุมโรคติดตอ

๒. วิชาเสริม เปนวิชาที่ อสม ๒.วิชาเสริม เปนวิชาที่ อสม.ทุกคนตองเรียน เปนการพัฒนาศักยภาพของผูเรียนใหมีความรูที่กวางขวางมากขึ้น เพื่อการทํางานที่เปนองครวมมากขึ้น และสงเสริมการพึ่งตนเอง ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เชน งานนโยบายอื่นๆ การอบรม อสม.เชี่ยวชาญ

๓.วิชาเลือก เปนวิชาที่ผูเรียนสมัครเรียนตามความสนใจ มีหลายวิชาใหเลือก แต อสม .ตองเลือกเรียน อยางนอยปละ ๑ วิชา และผูเรียนอาจเปนประชาชนทั่วไปที่สนใจในเรื่องที่เปดสอนนั้นก็ได เชน การนวดแกปวดเมื่อย การทำกระเป๋าHand made การประดิษฐ์ดอกไม้จากขยะRecycle นอกจากนี้ยังมีการสํารวจความสนใจของผูเรียน(อสม.) โดยใหเขียนเรื่องที่ผูเรียนตองการเรียน คนละ ๓เรื่อง แลวครูผูสอนจะรวมคะแนนความสนใจ จัดลําดับจากมากไปนอย จึงจัดการเรียนการสอนในคราวตอไป

ครูผูสอน 1.ครู อสม.หมายถึง อสม. ที่มีความรูหรือสนใจในการเปนผูสอนเพื่อนๆ อสม. ซึ่งจะเนนที่การพัฒนาศักยภาพตัวครู และพัฒนาการสอน คือเปนทั้งผูเรียนและผูสอนไปพรอมๆ กัน ครูอสม.   ชื่อ –สกุล วิชาที่ ชํานาญการสอน หลักสูตร นางอัมพร กริ่งกรับ -การดำเนินงานในศสมช. -การคุ้มครองผู้บริโภค -การดำเนินงานด้านทันตสุขภาพ -การปฐมพยาบาลเบื้องตน -วิชาพื้นฐาน/บังคับ นายวิสูตร สุริยะ -การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดยาเสพติด นางแสงหล้า สุยะราช -การดำเนินงานด้านจิตเวชในชุมชน -การป้องกันโรคเอดส์ วิชาพื้นฐาน/บังคับ

นางสายยัน จันทร์ผ่อง   -การป้องกันโรคเอดส์ -การออกกำลังกายด้วยรำวงย้อนยุค -วิชาพื้นฐาน/บังคับ -วิชาเสริม นายสมัย วันดี การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดยาเสพติด วิชาพื้นฐาน/บังคับ นส.จุฑาทิพย์ บุญสม -การเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว -การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

นางสุภานันท์ ศรีราชวงค์ -การเยี่ยมบ้าน -การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง วิชาพื้นฐาน/บังคับ นางกาญจนา ขันไชย การประดิษฐ์ดอกไม้จากขยะ การป้องกันโรคเอดส์และเพศศึกษา -วิชาเลือก -วิชาพื้นฐาน/บังคับ   นางสมพร คุณยศยิ่ง -การตรวจสารปนเปอนในอาหาร -การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค

นางชฎาพร สิทธิมงคล -การนวดไทย -การทำสมุนไพรแปรรูป -การทำลูกประคบ -วิชาเสริม   นางแรมใจ ปากกล้า -การบริการทันตกรรมในชุมชน -การส่งเสริมสุขภาพ 3.อ.2.ส. -วิชาพื้นฐาน/บังคับ นางสารภี ดำฤทธ์ -การนวดพื้นฐานและการใช้สมุนไพรพื้นบ้าน

-การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ -การป้องการควบคุมโรคติดต่อ -การคัดกรองจิตเวช นส.อำพร พรมศรี -การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ -การป้องการควบคุมโรคติดต่อ -การคัดกรองจิตเวช -วิชาพื้นฐาน/บังคับ นางปณชกร เลิศอนันต์ -การประดิษฐ์ตุงและโคมไฟ -วิชาเสริม นางแสงดาว บุญเข็ม -นมแม่ สายใยรักแห่งครอบครัว นางศิริพร วงศ์สุวรรณ์ -การส่งเสริมสุขภาพ 3.อ. 2 ส.

นางลออ ณ.เชียงใหม่ การคุ้มครองผู้บริโภค -วิชาพื้นฐาน/บังคับ นางเกศสุดา สินสืบผล -การเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว -การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง   นางอรทัย ทวีชัยพงศ์

ครูพิเศษ ครูพิเศษ ชื่อ –สกุล วิชาที่ ชํานาญการสอน หลักสูตร   ชื่อ –สกุล วิชาที่ ชํานาญการสอน หลักสูตร ภญ.ทิวารัตน์ ต.เจริญ ยา, เครื่องสําอาง และผลิตภัณฑสุขภาพ วิชาพื้นฐาน/บังคับ นางระเบียบ รังแก้ว -การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ -การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ นายจำเนียร จินาชิต -การประดิษฐ์ดอกไม้ใบเตย หมวกก้านมะพร้าว วิชาเสริม

นางธนภรณ์ จมูศรี -การจัดการขยะในชุมชน -การสื่อสารเรื่องเพศ วิชาพื้นฐาน/บังคับ นางเบญจพรรณ คำก้อน การคัดกรองและการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเบื้องต้น นางมาลี สิงห์ด้วง การออกกำลังกายด้วยรำวงย้อนยุค วิชาเสริม นางอังคณา บุญอำนวย ครูกศน. ตำบลหนองผึ้ง พัฒนาอาชีพชุมชน

นายจักรพันธ์ ปันตา การปฐมพยาบาล วิชาพื้นฐาน/บังคับ นางนวลตา เต๋จะ -เกษตรอินทรีย์ วิชาเสริม นายนภดล คำมูล ภูมิปัญญาล้านนา นางณัฐรดี ฮวดเจริญ

ครูพี่เลี้ยง นายรักษ์นรินทร์ แก้วมีศรี -การจัดการสิ่งแวดล้อม นายรักษ์นรินทร์ แก้วมีศรี -การจัดการสิ่งแวดล้อม -วิชาพื้นฐาน/บังคับ   นาง ปันณภัทร คำตุ้ย -การคุ้มครองผู้บริโภค นาย เปรมรวิทย์ เสนาฤทธิ์ ประเมินอาการและดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน นางวธุสิริ ฝั้นคำอ้าย -การจัดการสุขภาพ(หมู่บ้านและตำบลจัดการสุขภาพ) -การป้องกันและป้องกันโรคไม่ติดต่อ -การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

นางสุภาพร เกรียติจิรกุล   -การดูแลผู้พิการ -การดูแลผู้สูงอายุ - -วิชาพื้นฐาน/บังคับ นส.หทัยรัตน์ แสนปัญญา -การตรวจมะเร็งเต้านม -การเยี่ยมบ้าน  -การคักกรองและดูแลผู้ป่วยจิตเวช  นส.มุกการินทร์ วรรณฟู -การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ นส.วัชรินทร์ จิลิน -การดูแลทันตสุขภาพ

แบบสำรวจความต้องการเรียนรู้อสมตำบลหนองผึ้ง ปี 2558 ชื่ออสม. หมู่ที่ แบบสำรวจความต้องการเรียนรู้อสมตำบลหนองผึ้ง ปี 2558 ชื่ออสม............................................หมู่ที่............ *ให้ทำเครื่องหมายถูกในเรี่องที่ท่านต้องการเรียนรู้และเสนอเพิ่มเติมได้ ตอบได้หลายข้อตามที่ท่านสนใจ 1………การคุ้มครองผู้บริโภค 2........ การป้องกันและแก้ไขยาเสพติดในชุมชน 3.........การป้องกันโรคเอดส์ในชุมชน 3.........การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง 4..........การส่งเสริมสุขภาพด้วย3อ. 2ส. 5.........การดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น 6.........การป้องกันการท้องไม่พร้อม/อนามัยวัยเจริญพันธ์/สุขภาวะทางเพศ 7.........การเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว 8.........การคัดกรองและดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน 9.........การดูแลสุขภาพช่องปาก 10.......การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 11.........การบริการในศสมช. 12........การจัดการขยะในชุมชน 13........เรื่องอื่นโปรดระบุ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

แบบประเมินความรู้ และความต้องการพัฒนาความรู้ ความสามารถ 7. ท่านเคยผ่านการอบรมความรู้หรือไม่ ( ) 1) เคย ( ) 2) ไม่เคย ถ้าตอบ 1) เคย ให้ตอบข้อ 8 ถ้าตอบ 2) ไม่เคย ให้ข้ามไปตอบข้อ 9 8. ท่านเคยผ่านการอบรมความรู้ด้านสาธารณสุขเรื่องใดบ้าง ............................................................................................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 9. ท่านคิดว่าท่านสามารถถ่ายทอดความรู้ด้านสาธารณสุขเรื่องใดบ้าง เรื่อง.................................................................วิธีการถ่ายทอด............................................... 10. . ข้อเสนอแนะอื่นในการเปิดโรงเรียน อสม.ตำบลหนองผึ้ง ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ขอขอบคุณ อสม.ทุกท่านที่ให้ความร่วมมือตอบแบบสอบถาม เพื่อการพัฒนาศักยภาพ อสม.  

ตารางสอนโรงเรียนอสม.ตำบลหนองผึ้ง ปี 2557 วัน  เดือน  ปี วิชาที่เรียน วิทยากร พี่เลี้ยง 19 เมษายน 2557 (13.30 – 16.30 น) - ปฐมนิเทศ - กฎระเบียบข้อปฏิบัติ - จิตสาธารณะ นางอัมพร กริ่งกรับ วิทยากรพี่เลี้ยงทุกคน 26 เมษายน 2557 อาหารที่เหมาะสมกับโรค นาง ศิริพร วงศ์สุวรรณ นางวธุสิริ ฝั้นคำอ้าย 30 เมษายน 2557 การออกกำลังกายด้วยรำวงย้อนยุค นางมาลี สิง์ด้วง

แผนการสอน : เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร วัตถุประสงค์ เนื้อหา/สาระสําคัญ วิธีการ/กิจกรรม สื่อประกอบการสอน การประเมินผล 1. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงชนิดของสารปนเปื้อนในอาหาร 2. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงพิษภัยที่เกิดจากสารปนเปื้อนในอาหาร   1. สาระน่ารู้ว่าด้วยสารปนเปื้อนในอาหาร 2. ชนิดของสารปนเปื้อนในอาหาร 2.1. สารพิษที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ - สารพิษจากเชื้อจุลินทรีย์ - สารพิษจากเห็ดบางชนิด - สารพิษในพืชผัก 2.2. สารพิษที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ - สารตกค้างจากการเกษตร - สิ่งเจือปนในอาหาร แบ่งเป็น 3 ประเภท 1. สารกันอาหารเสีย สารกันบูด สารกันรา 2. สารแต่งกลิ่น รส 3. สีผสมอาหาร 3. พิษภัยที่เกิดจากการบริโภคอาหารที่มีสารปนเปื้อน 4. การใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ( ที่ควรทราบ ) - บอแร็กซ์ หรือ น้ำประสานทอง หรือ ผงกรอบ ( โซเดียมบอเรต ) - ฟอร์มาลิน หรือ น้ำยาดองศพ - สารกันรา หรือ กรดวาลิซิลิค - สารเคมีกำจัดศัตรูพืช หรือ ยาฆ่าแมลง - สารฟอกขาว หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟล์ - น้ำมันทอดซ้ำ 1. นำเข้าสู่บทเรียน โดยชวนผู้เรียนตั้งข้อสังเกต วิเคราะห์สถานการณ์การใช้สารปนเปื้อนในอาหาร ที่มีอยู่ในชุมชน 2. ผู้สอนบรรยายถึงชนิดของสารปนเปื้อนในอาหาร พิษภัยที่เกิดจากการบริโภคสารปนเปื้อน 3. ฝึกปฏิบัติการใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร 4. ลงพื้นที่ปฏิบัติการจริง ในการเก็บตัวอย่างอาหารมาตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร 5. สรุปผล ให้ความเห็น ตามผลที่เกิดขึ้นจากการออกตรวจสอบสารปนเปื้อน 6. สรุปสาระสำคัญ ที่ได้จากการเรียนรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร 1.เอกสาร หนังสือ ตำรา และสื่อวีดีทัศน์ เกี่ยวกับสารปนเปื้อนในอาหาร 2.ผลิตภัณฑ์ตัวอย่าง ใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอน 3.ใบงานทั้งในห้องเรียน และลงปฏิบัติภาคสนาม 4.สถานที่ฝึกปฏิบัติภาคสนาม ร้านค้า ร้านชำ ในละแวกใกล้เคียง หรือในชุมชนที่ผู้เรียนอยู่ 5.เอกสาร เนื้อหาสระสำคัญที่เกิดจากการเรียนการสอนร่วมกัน 1.ประเมินจากความสนใจการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 2. ประเมินจากความรู้ความเข้าใจในใบงานที่ได้รับ 3.ประเมินจากการสรุปสาระสำคัญเทียบเคียงจากวัตถุประสงค์ที่กำหนด 4.ประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนผู้สอนจากการให้ความเห็นร่วมกันหลังสิ้นสิ้นกระบวนการเรียนรู้

ตัวอย่างกิจกรรมในโรงเรียน วิชา 3อ.2ส. วิชาการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร วิชาการเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้า

วิชาผลิตตะไคร้หอมไล่ยุง วิชา ประดิษฐ์ดอกไม้จากขยะ. วิชา ผลิตกระเป๋าหนัง. วิชา ประดิษฐ์ดอกไม้จากขยะ.

รับการประเมินและรับรอง

ขอขอบพระคุณ ยินดีรับข้อเสนอแนะ