กิจกรรมข้อเสนอแนะ (Suggestion System)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
งานบริการการศึกษา.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนในการติดตามผลการปฏิบัติงานโครงการ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย ศส.ปชต. สู่ความยั่งยืน การส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย ศส.ปชต. สู่ความยั่งยืน ทิศทางการขับเคลื่อน ศส.ปชต. ให้มีความยั่งยืน.
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กิจกรรมข้อเสนอแนะ (Suggestion System) tawatchaithaikyo@gmail.com นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม

Hot Tip “กิจกรรมข้อเสนอแนะ” เป็นเทคนิคการบริหารที่ “มุ่งส่งเสริมพนักงานทุกระดับ” โดยเฉพาะในระดับปฏิบัติการได้เข้ามา “มีส่วนร่วมในการบริหารองค์กร” กล่าวคือ ให้พนักงาน “เป็นผู้ค้นหาปัญหา” ต่างๆ ในการทำงานพร้อมกับ “เขียนข้อเสนอแนะถึงวิธีการปรับปรุงแก้ไข” เพื่อเสนอให้ “กับฝ่ายบริหาร” ที่รับผิดชอบ โดยข้อเสนอแนะจะต้องเป็นความคิดที่ “เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงคุณภาพขององค์กร” ทั้งในส่วนย่อย และต่อองค์กรโดยรวม

มุมมองกิจกรรมข้อเสนอแนะ SS นักบริหาร ระบบหรือรูปแบบของการบริหารงานแบบหนึ่ง ที่มุ่งเน้นลักษณะการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม(Participative Management) เป็นการเปิดโอกาสให้กับพนักงานทุกคนในทุกระดับได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาปรับปรุงองค์กร พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการ เป็นเทคนิคที่เขาสามารถใช้ในการเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงงานประจำที่ทำอยู่ หรืองานส่วนใดส่วนหนึ่งขององค์กร โดยผ่านความเห็นชอบจากผู้บังคับบัญชาอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรตามแบบฟอร์มที่กำหนด อันจะก่อให้เกิดขวัญและกำลังใจของพนักงาน ลดค่าใช้จ่ายและการสูญเปล่าที่เกิดขึ้นจากการทำงาน นอกจากนี้ยังอาจช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับองค์กรได้อีกด้วย.

ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมข้อเสนอแนะ กรอบแบบฟอร์ม ข้อเสนอแนะที่ได้ทดลองทำแล้ว ข้อเสนอแนะเป็นความคิดยังไม่ทำ ส่งให้คณะกรรมการ พิจารณาข้อเสนอแนะ ใส่กล่องข้อเสนอแนะ แจ้งผล ประเมินคุณค่าความคิด/รางวัล ได้รับรางวัลระดับความคิดดี นำไปทดลองปฏิบัติงานจริง

เทคนิคในการนำเสนอหัวเรื่องสิ่งที่ต้องคำนึงถึง เพื่อพิจารณาไปสู่การปรับปรุง และพัฒนา 1 ความจำเป็น : ต้องเป็นเรื่องที่ทำแล้วสอดคล้องกับเป้าหมาย หรือนโยบายขององค์กร เป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม โดยทั่วไปแล้วมักจะพิจารณาจากการลดความสูญเปล่า และเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เรื่องเกี่ยวกับการลดอุบัติเหตุ ลดต้นทุนการผลิต หรือสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีในการปฏิบัติงานเป็นต้น 2 ความพอเพียง โดยควรพิจารณา (1)ความสามารถของหน่วยงาน (2)เงินทุน หรือค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการปรับปรุง (3)ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ (ซึ่งก็ไม่ควรนานเกิน 3 เดือน) ความสามารถของพนักงาน

ขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรมข้อเสนอแนะ จัดตั้งคณะกรรมการ เพื่อดำเนินงาน ควรประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงสุด ผู้อำนวยการ ไปจนถึงพนักงานระดับหัวหน้างาน และต้องมาจากหลากหลายแผนก ซึ่งหน้าที่ของคณะกรรมการก็มี ดังนี้ การจัดประชุม กำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ประชาสัมพันธ์กิจกรรม ให้ความรู้กับพนักงาน ประเมินผลใบกิจกรรม การมอบรางวัล ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมให้ดีขึ้น

ขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรมข้อเสนอแนะ ประชาสัมพันธ์ ให้พนักงานได้มีความรู้ ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ และประโยชน์ ที่พนักงาน หน่วยงาน บริษัท และประเทศชาติ จะได้รับจากการดำเนินกิจกรรมนี้ สำหรับวิธีการประชาสัมพันธ์ที่นิยมใช้ และได้ผลอย่างมากคือ การจัดบอร์ด การสื่อสารไปยังหัวหน้างานเพื่อกระตุ้นในการประชุมกับลูกน้องอย่างสม่ำเสมอ การใช้อีเมล์แจ้งความคืบหน้าโครงการต่างๆ สะดวก รวดเร็ว และประหยัด อบรมให้ความรู้ ในการดำเนินกิจกรรมข้อเสนอแนะ หรือไคเซ็น เพื่อให้พนักงานสามารถเขียนกิจกรรมข้อเสนอแนะได้อย่างถูกต้องมากที่สุด

ขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรมข้อเสนอแนะ ตรวจประเมินผล โดยคณะกรรมจัดประชุมเพื่อพิจารณาข้อเสนอแนะที่ได้รับ ซึ่งส่วนใหญ่มักพิจารณาจากผลที่ได้รับ เช่น จำนวนเงินที่ประหยัดงบประมาณ หรือที่ได้รับ ความปลอดภัย การนำไปต่อยอด หรือขยายผล การทำงานได้ง่าย สะดวกกว่าในปัจจุบัน ความพยายาม และการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเกณฑ์อันนี้คณะกรรมการต้องรอบคอบ ชัดเจน ในการประเมิน มิฉะนั้นอาจเกิดข้อสงสัย หรือคำครหาได้

ขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรมข้อเสนอแนะ มอบรางวัล โดยควรมอบเงิน และใบประกาศ หรือโล่ห์ เพื่อสร้างขวัญกำลังใจ โดยส่วนใหญ่แล้วมักมอบในงานสำคัญของหน่วยงาน ปรับปรุง และพัฒนาต่อยอด โดยควรทำสองสิ่งพร้อมๆกัน สิ่งแรก คือ ติดตามผลโครงการ โดยควรไปตรวจสอบความคืบหน้า เพิ่มเติม ในเรื่องที่ได้รับรางวัล และ ควรพัฒนาทักษะการเขียนข้อเสนอแนะ ของพนักงานให้สูงขึ้น เช่น การใช้ข้อมูลประกอบ การวาดภาพ การประเมินผลลัพธ์ต่างๆ เป็นต้น

ปัญหาและอุปสรรค์ และวิธีการแก้ไขของการ พนักงานไม่ให้ความสำคัญ แก้ไขโดย คณะกรรมการ และหัวหน้าหน่วยงานต้องทำเป็นตัวอย่าง และ นำไปใช้ในการประเมินผลงานประจำปีด้วย (บังคับเลย) ไม่รู้จะเขียนข้อเสนอแนะอย่างไร? แก้ไขโดย คณะกรรมการ และหัวหน้าหน่วยงาน ควรให้ความรู้ใหม่ เช่น ความรู้ด้านวิศวอุตสาหการ (IE: Industrial Engineering) วิศวกรรมคุณค่า (VE: Value Engineer) และ ควรหาตัวอย่างมาให้พนักงานได้ดูเยอะๆ เช่น เป็นสมาชิกนิตยสารเกี่ยวกับการผลิต การเพิ่มผลผลิต การดำเนินกิจกรรมไคเซ็น การบริหารคุณภาพ

ปัญหาและอุปสรรค์ และวิธีการแก้ไขของการ ไม่มีเวลา แก้ไขโดย หัวหน้างานควรจัดเวลาให้พนักงานได้ทำกิจกรรมข้อเสนอแนะบ้าง เช่น สัปดาห์ละ 20 นาที หรือเดือนละ 1 ชั่วโมง เป็นต้น ซึ่งควรพิจารณาตามความเหมาะสม ไม่กระทบต่อการปฏิบัติงานประจำวัน หมดไฟ แก้ไขโดย คณะกรรมการ และหัวหน้างาน ควรประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง จากประสบการณ์ช่วงแรกส่งมากทะลุเป้า ผ่านไปสัก 1 ปี ยอดตก ดังนั้น คณะกรรมการควรปรับแผนงานให้สอดคล้องกับสภาพการปฏิบัติงานในปัจจุบันด้วย ผู้บริหารไม่เล็งเห็นความสำคัญ แก้ไขโดย คณะกรรมการควรนำเสนอผลที่ได้รับจากกิจกรรมนี้จากองค์กรอื่นๆ เพื่อให้ผู้บริหารได้เห็น

www.themegallery.com Thank You