ของ สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แนวทางการจัดทำรายงาน การควบคุมภายในประจำปี 2561
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อทบทวนระบบการควบคุมภายใน
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
บทบาทอำนาจหน้าที่ตรวจสอบภายใน
แนวทางการจัดทำรายงาน
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
ผลการติดตามและทบทวนแผนการปรับปรุง การควบคุมภายใน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ของ สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การประเมินและปรับปรุงการควบคุมภายใน สิ้นสุด ณ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ของ สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน 18 ตุลาคม 2556

วัตถุประสงค์การนำเสนอ เพื่อให้ทุกฝ่ายงานเข้าใจถึงกระบวนการประเมินและปรับปรุงการควบคุมภายใน สิ้นสุด ณ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 และจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในให้คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.)

และแนวคิดการประเมินระบบการควบภายใน และการบริหารความเสี่ยง ทบทวนกระบวนการ และแนวคิดการประเมินระบบการควบภายใน และการบริหารความเสี่ยง

แนวคิดหลัก วัตถุประสงค์ กระบวนการ ความเสี่ยง การควบคุม และ การกำกับดูแล การกำกับดูแล Governance กระบวนการ Process วัตถุประสงค์ Objective ความเสี่ยง Risk การควบคุม Control

ความเชื่อมโยงกับระบบจัดการกับเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA ) การบริหารความเสี่ยง ( SP 7 ) 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ ระบบควบคุมภายใน ( LD 6 )

ความเชื่อมโยงกับ KPI ผลการดำเนินงานปีบัญชี 2556 = 4.5

ความเป็นมาและความสำคัญ ข้อกำหนดระเบียบข้อ 4 “ ให้ผู้กำกับดูแลและฝ่ายบริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการนำมาตรฐานการควบคุมภายใน ของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ท้ายระเบียบนี้ไปใช้เป็นแนวทางการจัดวางระบบการ ควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน” 9

เอกสารแนบท้ายระเบียบ การประเมินผลระบบการควบคุมภายในและจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544

ความเป็นมาและความสำคัญ ข้อกำหนดระเบียบข้อ 5 “.. ให้หน่วยรับตรวจที่เกิดขึ้นก่อนและหลังระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วย การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ซึ่งมีผลใช้บังคับ วันที่ 27 ตุลาคม 2544 แต่ ยังไม่ได้จัดวางระบบการควบคุมภายใน ดำเนินการจัดวางระบบการควบคุมภายในและจัดทำ หนังสือรับรองการจัดวางระบบการควบคุมภายใน เรียนคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ส่งให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน” 11

ความเป็นมาและความสำคัญ ข้อกำหนดระเบียบข้อ 6 “.. ให้หน่วยรับตรวจประเมินการควบคุมภายในและรายงานผลการประเมิน อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งภายใน 90 วัน จากวันสิ้นปีงบประมาณ หรือปีปฏิทิน จัดส่ง หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน ส่ง สตง. รายงานอื่นเก็บไว้ที่ หน่วยงาน ” 12

ความเป็นมาและความสำคัญ รายละเอียดข้อกำหนดระเบียบข้อ 6 ให้หน่วยรับตรวจ.... 1. ทำความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจที่ใช้อยู่มีมาตรฐานตามระเบียบ นี้หรือไม่ 2. รายงานผลการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในใน การ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด รวมทั้งข้อมูลสรุปผลการประ เมินแต่ละ องค์ประกอบของ การควบคุมภายใน ประกอบด้วย (ก) สภาพแวดล้อมของการควบคุม (ข ) การประเมินความเสี่ยง (ค) กิจกรรมการควบคุม (ง) สารสนเทศและการสื่อสาร (จ) การติดตามประเมินผล 3. จุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในพร้อมข้อเสนอแนะและแผนการปรับปรุง ระบบการ ควบคุมภายใน 13

การจัดทำและจัดส่งรายงานตามระเบียบ คตง. ชื่อรายงาน จัดทำ จัดส่ง หน่วยรับตรวจ ( ตามระเบียบข้อ 5) 1. หนังสือรับรองการจัดวางระบบการควบคุมภายใน (ดำเนินการครั้งเดียว) หน่วยรับตรวจ ( ตามระเบียบข้อ 6) 1. ปอ.1 หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน 2. ปอ.2 ผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมฯ 3. ปอ.3 แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ส่วนงานย่อย ( ตามระเบียบข้อ 6) 1. ปย.1 ผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมฯ 2. ปย.2 การประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมฯ ผู้ตรวจสอบภายใน( ตามระเบียบข้อ 6) 1. ผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมฯ ของผู้ตรวจสอบภายใน  -

มาตรฐานการควบคุมภายใน ความหมายของการควบคุมภายใน (Internal Controls) “การควบคุมภายใน” หมายความว่า กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้บริหาร และพนักงาน เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานจัดให้มีขึ้นเพื่อสร้างความมั่นใจอย่าง สมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานของหน่วยงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน การควบคุมที่เป็นลายลักษณ์อักษร (Hard Controls) การควบคุมที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร (Soft Controls) การควบคุมที่มองเห็นได้ (Hard Controls) กำหนดโครงสร้างองค์กร นโยบาย ระเบียบวิธีปฏิบัติ ฯลฯ การควบคุมที่มองไม่เห็น (Soft Controls) ความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส การมีผู้นำที่ดี ความมีจริยธรรม

ตัวอย่างกิจกรรมควบคุม การกำหนด นโยบาย และวิธีปฏิบัติงานที่ชัดเจน การ อนุมัติ โดยผู้มีอำนาจก่อนทำรายการ การ บันทึก รายการอย่างถูกต้องแม่นยำ ธุรกรรมได้รับการ รายงาน อย่างเหมาะสม การ สอบทาน โดยผู้บริหารระดับกลาง การควบคุมการ ประมวลผล ข้อมูล การควบคุมความ ปลอดภัย ของทรัพย์สินและข้อมูล การ แบ่งแยกหน้าที่ สำคัญออกจากกัน การใช้ ดัชนีวัดผล การดำเนินงาน การจัดทำ หลักฐานเอกสาร 16

การควบคุมเชิงป้องกัน ป้องกันสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ ข้อผิดพลาด ทุจริต ระบบคอมพิวเตอร์ ตรวจเลขที่บัญชี ที่พนักงานคีย์เข้า ทำลายเอกสาร ที่มีข้อมูลสำคัญเพื่อกันการรั่วไหล พนักงานอ่านและ ทำความเข้าใจ นโยบายและคู่มือ ผู้บริหาร อนุมัติ คำขอจัดซื้อ ระบบ ให้สิทธิ การเข้าถึงข้อมูลเฉพาะผู้มีอำนาจหน้าที่ อาคารและระบบความปลอดภัย จำกัด การเข้าถึงสินทรัพย์ ไม่วาง อาหารและเครื่องดื่มใกล้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สำรองข้อมูล เป็นระยะตามระดับความสำคัญ เก็บ รหัสผ่าน เป็นความลับ ติดตั้งและใช้งานซอฟแวร์ ป้องกันไวรัส 17

มาตรฐานการควบคุมภายใน วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในมี 3 ด้าน มีดังนี้ เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลจากการใช้ทรัพย์สินและทรัพยากรอื่นๆ (Operation objectives: “O”) เพื่อให้มีระบบข้อมูลด้านการเงินและดำเนินงานที่ครบถ้วนถูกต้อง เชื่อถือได้ และเป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์ (Financial report objectives: “F”) เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและข้อกำหนด (Compliance objectives: “C”)

มาตรฐานการควบคุมภายใน แนวคิดของการควบคุมภายใน การควบคุมภายในเป็นกระบวนการที่รวมไว้หรือเป็นส่วนหนึ่งในการปฏิบัติงานตามปกติ การควบคุมภายในเกิดขึ้นได้โดยบุคลากรของทุกระดับขององค์กร การควบคุมภายในให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการปฏิบัติงานจะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ 3 ประการของการควบคุมภายใน

มาตรฐานการควบคุมภายใน องค์ประกอบสำคัญของการควบคุมภายใน ด้านดำเนินงาน ด้านรายงาน ด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ การควบคุมภายในมี 5 องค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1: สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control environment) องค์ประกอบที่ 2: การประเมินความเสี่ยง (Risk assessment) องค์ประกอบที่ 3: กิจกรรมการควบคุม (Control activities) องค์ประกอบที่ 4: สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and communication) องค์ประกอบที่ 5: การติดตามประเมินผล (Monitoring activities) 5.การติดตามประเมินผล 4.สารสนเทศและการสื่อสาร 3.กิจกรรมการควบคุม 2.การประเมินความเสี่ยง 1. สภาพแวดล้อม ของการควบคุม

มาตรฐานการควบคุมภายใน สภาพแวดล้อมของการควบคุม การประเมิน ความเสี่ยง กิจกรรม การควบคุม สารสนเทศ และ การสื่อสาร การติดตาม ประเมินผล

1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม

2. การประเมินความเสี่ยง

3. กิจกรรมการควบคุม

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

5. การติดตามประเมินผล

ตัวอย่าง: อยู่ในระบบ

การจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน ร่างรายงาน ของ หน่วยงาน (ปอ.) รายงาน ของ หน่วยงานย่อย (ปย.) ฝ่าย บริหาร การประเมินผล รายครั้ง (CSA) หัวหน้า หน่วยงาน การสอบทานร่าง รายงานของหน่วยงาน(ปอ.) การประเมิน อย่างเป็นอิสระ ฝ่าย ตรวจสอบ ภายใน รายงานของ ฝ่ายตรวจสอบ ภายใน (ปส.) การสอบทานการปฏิบัติ ตามการควบคุมภายใน(ปย.)

สรุปขั้นตอนการประเมินรายครั้งของหน่วยงานย่อย (แบบ ปย.) ประเมินผลภาพรวม ประเมินผลแต่ละกิจกรรม 1.จัดทำแบบประเมิน องค์ประกอบของการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ก) รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ ของการควบคุมภายใน(ปย.1) 2.จัดทำแบบสอบถาม การควบคุมภายใน (ภาคผนวก ข) รายงานการประเมินผล และการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ปย.2)

สรุปขั้นตอนการประเมินรายครั้งขององค์กร (แบบ ปอ.) ประเมินผลภาพรวมขององค์กร ประเมินผลของหน่วยงานย่อย 1. จัดทำแบบประเมิน องค์ประกอบของการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ก) 2.จัดทำแบบสอบถาม การควบคุมภายใน (ภาคผนวก ข) จัดทำแบบประเมิน องค์ประกอบของการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ก) รายงานของหน่วยงานย่อย รายงานการประเมินผล และการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ปย.2) 3. รายงานการประเมินผล และการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ปอ.3) รายงานของ ฝ่ายตรวจสอบภายใน (ปส.) 4. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ ของการควบคุมภายใน(ปอ.2) หัวหน้าหน่วยงาน 5. หนังสือรับรอง การประเมินผลการควบคุมภายใน ( ปอ.1)

สรุปขั้นตอนการประเมินรายครั้งขององค์กร (แบบ ปอ.) ร่างรายงานของหน่วยงาน (ปอ.1,ปอ.2 และปอ.3) รายงานของ ฝ่ายตรวจสอบภายใน (ปส.) รายงานของหน่วยงาน (ปอ.1) ผู้กำกับดูแล คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการตรวจสอบ

ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารต่อการควบคุมภายใน กำหนดหรือออกแบบและประเมินผลการควบคุมภายในขององค์กร กำหนดหรือออกแบบระบบการควบคุมภายในของส่วนงานต่างๆ ภายใต้ความรับผิดชอบให้มีประสิทธิผลในระดับที่น่าพอใจอยู่เสมอ ริเริ่มและดำเนินการสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมของการควบคุม และปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องความซื่อสัตย์ ความมีคุณธรรมและจริยธรรม กำหนดบทบาทของหน่วยตรวจสอบภายในให้เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างการควบคุมภายใน ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหาร รองลงมาทุกระดับ กำหนดหรือออกแบบการควบคุมภายในของส่วนงานที่แต่ละคนรับผิดชอบ ให้สอดคล้องกับการควบคุมภายในที่องค์กรกำหนด สอบทานหรือประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานภายใต้ระบบการควบคุมภายในที่นำมาใช้ ปลูกฝังผู้ใต้บังคับบัญชาให้มีวินัย จิตสำนึกที่ดี

บทบาทของผู้บริหารและผู้ตรวจสอบภายในต่อการควบคุมภายใน บทบาทและความรับผิดชอบของผู้บริหาร สร้างสภาพแวดล้อมการควบคุมที่ดี พิจารณาแต่งตั้งบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบ มอบอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้กับส่วนงานต่าง ๆ อย่างชัดเจน จัดให้มีสายการบังคับบัญชาที่เหมาะสม สะดวกในการจัดทำและพิจารณารายงานผลการปฏิบัติงาน พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อ สนับสนุนกระบวนการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง กำหนดนโยบายการควบคุมจากผลของการประเมินความเสี่ยง สนับสนุนกระบวนการประเมินการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบภายใน ต่อการประเมินผลระบบการควบคุมภายใน ตรวจสอบการปฏิบัติตามนโยบาย ระเบียบ และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมภายในขององค์กร ดำรงไว้ซึ่งความเป็นอิสระและเที่ยงธรรมในกิจกรรมที่ประเมิน ปฏิบัติงานด้วยความรู้ ความสามารถ ระมัดระวังในวิชาชีพและความรับผิดชอบ รายงานและให้ข้อเสนอแนะผู้บริหารเกี่ยวกับการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในเพื่อการป้องกันหรือลดความเสี่ยง ให้คำแนะนำวิธีการประเมินการควบคุมภายในแก่หน่วยงานต่าง ๆ ภายในหน่วยรับตรวจ ศึกษาค้นคว้าวิธีการควบคุมใหม่ ๆ เพื่อนำเสนอฝ่ายบริหารพิจารณาใช้ลดหรือป้องกันจุดอ่อนการควบคุมภายใน ติดตามผลการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในตามแผนปฏิบัติงานที่ได้รับอนุมัติจากฝ่ายบริหาร ประสานงานกับผู้ตรวจสอบภายนอกเกี่ยวกับผลการประเมินระบบการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจ การควบคุม ภายใน

มาตรฐานการควบคุมภายในฯ ตัวอย่างการควบคุมภายใน ที่ถือปฏิบัติทั่วไป ประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในเป็นระยะ ๆ จะต้องเป็นไปตาม มาตรฐานการควบคุมภายในฯ ตัวอย่างการควบคุมภายใน ที่ถือปฏิบัติทั่วไป ติดตามการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง การบริหารทรัพยากรบุคคลขององค์กรเป็นไปอย่างมีประสิทธิผลเพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด แบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำคัญให้กับบุคลากรหลายคนเพื่อลดความเสี่ยงจากการผิดพลาดหรือการทุจริต โดยไม่มอบหมายให้บุคคลคนเดียวปฏิบัติหน้าที่สำคัญแต่ผู้เดียวตั้งแต่ต้นจนจบ ผู้บริหารติดตามผลสำเร็จของงานและเปรียบเทียบกับแผนที่กำหนดและ วิเคราะห์ความแตกต่าง มีการควบคุมการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ฯลฯ

ตัวอย่างผลการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน

สรุปประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน และแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ปี 2555 ผลการประเมิน/ ข้อสรุป (จุดอ่อนของการควบคุมหรือความเสี่ยงที่ยังมีอยู่) ผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม - การจัดโครงสร้างและสายงานการบังคับบัญชาของหน่วยงานมีความชัดเจน มีความเหมาะสมกับการดำเนินงาน การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่มีความเหมาะสมและคุ้มค่า - การกำหนดหลักเกณฑ์การวัดผลการดำเนินงานมีความจัดเจนและเป็นที่ยอมรับ การจัดสรรทรัพยากรบุคคล ในการดำเนินการวิเคราะห์แผนการขยายระบบโครงข่ายพลังงานขาดความชัดเจน การกำหนดกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานที่เป็นระบบและเป็นที่ยอมรับ (ยังไม่มีความชัดเจนและเป็นระบบ) ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดำเนินงาน (การปฏิบัติงานวิเคราะห์แผนการขยายระบบโครงข่ายพลังงาน) ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดำเนินงาน (งานการจัดทำแผน) 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล

สรุปประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน และแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ปี 2555 ผลการประเมิน/ ข้อสรุป (จุดอ่อนของการควบคุมหรือความเสี่ยงที่ยังมีอยู่) ผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง - แนวทางในการบริหารและการควบคุมความเสี่ยงที่เกิดขึ้นมีความชัดเจน ตลอดจนการควบคุมความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอยู่ในระดับที่ผู้บริหารยอมรับได้ - วัตถุประสงค์การดำเนินงาน ซึงทุกคนต้องรับทราบและมีความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานให้บรรลุผลสำเร็จในทิศทางเดียวกัน ต้องมีส่วนร่วมในการวางแผนระหว่างผู้บริหารและเจ้าหน้าที่หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง การดำเนินงานเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงการกำกับดูแลไฟฟ้าและก๊าซในภาวะฉุกเฉินมีความล่าช้า การจัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงานยังไม่มีประสิทธิภาพพอเพียง เนื่องจากการมีส่วนร่วมการจัดทำแผนยังไม่เพียงพอ งาน KM ไม่มีประสิทธิผลเพียงพอ เนื่องจากขาดการมีส่วนร่วมจากบุคลากรต่างๆ ใน สกพ. 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล

สรุปประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน และแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ปี 2555 ผลการประเมิน/ ข้อสรุป (จุดอ่อนของการควบคุมหรือความเสี่ยงที่ยังมีอยู่) ผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม คู่มือหรือวิธีปฏิบัติงาน ต้องมีการปรับปรุงให้เหมาะสมอยู่เสมอ การปรับปรุงพัฒนาหลักเกณฑ์การประกอบกิจการพลังงาน มาตรฐานทางวิศวกรรมและความปลอดภัย และการให้ความเห็นต่อข้อกำหนดการเชื่อมต่อ และการปฏิบัติการระบบโครงข่ายพลังงานเกิดความล่าช้า (เนื่องจากยังขาดบุคลากรดำเนินการ) ยังขาดระเบียบ กกพ. ว่าด้วยการประชุม กกพ. อีกทั้ง การประชุม กกพ. มีการเสนอวาระการประชุมล่าช้า และมีปริมาณวาระที่บรรจุจำนวนมาก ทำให้ต้องเร่งการจัดทำรายงานการประชุมให้แล้วเสร็จตามที่กำหนด 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล

สรุปประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน และแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ปี 2555 ผลการประเมิน/ ข้อสรุป (จุดอ่อนของการควบคุมหรือความเสี่ยงที่ยังมีอยู่) ผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร - การจัดระบบสารสนเทศในหน่วยงานสนองตอบต่อความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างเพียงพอและเหมาะสม - การจัดระบบสื่อสารมีความชัดเจน และการจัดช่องทางการสื่อสารมีความเหมาะสม งาน e-learning ยังไม่มีประสิทธิผลเพียงพอ การดำเนินการสื่อสารบทบาทการกำกับกิจการพลังงานยังไม่บรรลุเป้าหมายในการสร้างความเข้าใจและสนับสนุนการดำเนินงาน กกพ. 5. การติดตามประเมินผล

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ ข้อสรุป สรุปประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน และแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ปี 2555 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ ข้อสรุป (จุดอ่อนของการควบคุมหรือความเสี่ยงที่ยังมีอยู่) ผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล การจัดระบบการติดตามผลระหว่างการปฏิบัติงานมีความต่อเนื่อง การรายงานติดตามผลการดำเนินงานเสนอให้ผู้บริหารทราบเป็นระยะๆ อย่างสม่ำเสมอ การตรวจติดตาม ตรวจสอบผู้รับใบอนุญาตให้ปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องไม่เป็นไปตามแผนงาน ผู้รับใบอนุญาตอาจจัดส่งข้อมูลล่าช้ากว่ากรอบระยะเวลาที่กำหนด ส่งให้ผลการนำเสนอข้อมูลและความเห็นต่อ กกพ. ไม่เป็นไปตามกรอบเวลาที่กำหนด

ประเด็นประกอบการพิจารณาปรับปรุงการควบคุม เรื่องที่ยังดำเนินการไม่แล้วเสร็จตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (2) รายงานความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (3) ปัญหาและอุปสรรคการปฏิบัติงานภายในที่เกิดขึ้นในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (4) ข้อเสนอแนะและความต้องการ ของ กกพ. และ ฝ่ายบริหาร (5) ช่องว่างผลการตรวจรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ระดับพื้นฐาน (Certified FL)

รายละเอียด: อยู่ในระบบ

Q & A ขอบคุณ

Workshop