Chapter 3 Executive Information Systems : EIS

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
หมวด4 10 คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
ผู้บริหารกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
Information System MIS.
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
SMS News Distribute Service
Chapter 5 Organization Information Systems : OIS
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
รายวิชา การบริหารการศึกษา
Decision Support Systems
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
Chapter 4 Executive Support Systems : EDS
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
บทที่ 7 การบริหารงานขนส่ง ( Transportation Management System : TMS )
การบริหารจัดการอาสาสมัครสภากาชาดไทยแบบบูรณาการ
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ระบบสารสนเทศ (ต่อ) (Information Systems : IS)
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 3 Executive Information Systems : EIS Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

Executive Information Systems : EIS 2 ผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้กำหนดทิศทางในอนาคตขององค์กร การวางแผนและการตัดสินใจของผู้บริหารจึงมีความสำคัญต่อการอยู่รอด และเติบโตขององค์กรโดยอาศัยความชำนาญ ประสบการณ์ และรู้จักใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยสนับสนุนการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและทันต่อเหตุการณ์ Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

บทบาทของผู้บริหาร 3 1. บทบาทในการสร้างความสัมพันธภาพที่ดี การประสานงานกับบุคคลภายในและภายนอกองค์การจึงควรมีมนุษยสัมพันธ์ที่ ดีทั้งกับผู้บริหารด้วยกันเอง ผู้ร่วมงาน ผู้ใต้บังคับบัญชา และบุคคลภายนอก 2. บทบาทด้านข้อมูลข่าวสาร ผู้บริหารเป็นทั้งผู้รับและผู้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูล ความน่าเชื่อถือ ผู้บริหารควรมีความรู้ มีความสามารในการถ่ายทอดข้อมูลในการ ถ่ายทอดข้อมูลเพื่อให้เกิดภาพพจน์ที่ดีต่อองค์การ 3. บทบาทด้านการตัดสินใจ มีความสามารในการตัดสินใจ คาดการณ์ล่วงหน้า สามารถควบคุมสถานการณ์ แก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง ทันต่อเหตุการณ์ Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร 4 1. สร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนสารสนเทศและการตัดสินใจสำหรับผู้บริหารระดับสูงโดยเฉพาะ 2. แยกมาจากระบบ DSS เพื่อเน้นในการให้สารสนเทศที่สำคัญต่อการบริหารระดับสูงสุด 3. จำเป็นต้องใช้ข้อมูลทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร 4. ออกแบบให้แสดงสารสนเทศขององค์กรโดยสรุป แต่ขณะเดียวกันสามารถดูลึกเข้าไป ในรายละเอียดที่ต้องการได้ Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

ลักษณะการตัดสินใจในการทำงานของผู้บริหาร 5 (การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์) Strategic Decision (การตัดสินใจทางยุทธวิธี) (การควบคุม) Controlling Executive Decision Tactical Decision Fire-fighting (การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า) Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

แหล่งข้อมูลของผู้บริหาร 6 1. ข้อมูลภายในองค์การ (Internal Data) มีประโยชน์ต่อการบ่งชี้ผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicators : KPI) ประกอบด้วย 1. ข้อมูลจากกระบวนการดำเนินงาน (Transaction Processing Data) แสดงถึงการปฏิบัติงานขององค์การ การควบคุม การตรวจสอบ และการแก้ปัญหาโดยทั่วไป 2. ข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงเป้าหมายหรือผลการดำเนินงาน ของแต่ละส่วนงาน หรือ โครงสร้างต่าง ๆ ขององค์การ เช่น งบประมาณ แผนค่าใช้จ่าย เป็นต้น Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

แหล่งข้อมูลของผู้บริหาร 7 2. ข้อมูลภายนอกองค์การ (External Data) มีผลกระทบต่อการดำเนินงานขององค์การ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการของลูกค้า ข้อมูลคู่แข่งขันในการดำเนินธุรกิจ ฯลฯ 3. ข่าวสารที่ใช้ติดต่อระหว่างกัน ระหว่างผู้บริหารระดับสูงด้วยกัน ระหว่างผู้บริหารกับพนักงาน ระหว่างพนักงานในองค์การ หรือระหว่างองค์การอื่นๆ เช่น ข่าวสารจากสื่อมวลชนต่าง ๆ Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

ความหมายของระบบบริหารระดับสูง 7 1. เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจโดยเฉพาะสำหรับผู้บริหารระดับสูง เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง โดยระบบจะให้ข้อมูลที่ถูกต้องทันสมัยตามความต้องการเพื่อใช้กำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย การวางแผนระยะยาว 2. ระบบ ESS บางครั้งเรียกว่า EIS (Executive Information System) เป็นระบบที่ให้สารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูงเช่นกัน แต่ระบบ ESS จะรวมความสามารถเพิ่มเติมด้านการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

ลักษณะของระบบ ESS 9 1. ให้สารสนเทศที่มีประโยชน์ต่อการวางแผนกลยุทธ์ 2. ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน 3. เชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลภายนอก สามารถเชื่อมโยงระหว่างสื่อหลายมิติ (Hypermedia) 4. สามารถประมวลผลในรูปแบบที่ไม่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้า 5. พัฒนาเฉพาะสำหรับผู้บริหาร 6. มีระบบรักษาความปลอดภัย

ข้อดีของระบบ ESS 10 1. ง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง 2. ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ในเวลาสั้น 4. ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นำเสนออย่างชัดเจน 5. ประหยัดเวลาในการดำเนินงานและการตัดสินใจ 6. สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อจำกัดของระบบ ESS 11 1. มีข้อจำกัดในการใช้งาน เนื่องจาก ESS ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง 2. ข้อมูลและการนำเสนออาจไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหาร 3. ยากต่อการประเมินประโยชน์และผลตอบแทนที่องค์การจะได้รับ 4. ไม่ถูกพัฒนาให้ทำการประมวลผลที่ซับซ้อนและหลากหลาย 5. ซับซ้อนและยากต่อการจัดการข้อมูล 6. ยากต่อการรักษาความทันสมัยของข้อมูลและของระบบ 7. ปัญหาด้านการรักษาความลับของข้อมูล

ความสำคัญของผู้บริหารต่อการพัฒนาระบบ 12 ผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศทุกระบบในองค์การโดยให้การสนับสนุนและจัดหาทรัพยากร ให้ความร่วมมือกับทีมงานพัฒนาระบบเพื่อให้สามารถรวบรวมความต้องการของผู้บริหาร และนำมาออกแบบระบบให้เหมาะสมกับลักษณะการใช้งานต่อไปการมีทัศนคติที่ดีของผู้บริหารต่อระบบสารสนเทศ และเป็นผู้นำในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการวางแผนกลยุทธ์ และบริหารองค์การ ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี และเป็นแบบอย่างในการนำไปใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์การ

เปรียบเทียบ ESS กับระบบสารสนเทศแบบอื่นๆ 13

เปรียบเทียบ ESS กับระบบสารสนเทศแบบอื่นๆ 14

ตัวอย่างระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร 15

ตัวอย่างระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร 16

ตัวอย่างระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร 17

The End Executive Information Systems : EIS Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University