มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
จำนวนประชากรวัยเด็ก วัยทำงาน วัยสูงอายุ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
ระดับความเสี่ยง (QQR)
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคต้น ปีการศึกษา 2561
MK201 Principles of Marketing
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ขดลวดพยุงสายยาง.
กฎหมายกับเพศภาวะ Law & gender
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคต้น ปีการศึกษา 2561
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560 03751111 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560

พฤติกรรมของมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม - มนุษย์ไม่สามารถดำรงอยู่ได้ถ้าปราศจากสิ่งแวดล้อม แต่สิ่งแวดล้อมสามารถดำรงอยู่ได้โดยไม่จำเป็นต้องมีมนุษย์อยู่ - มนุษย์เป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่งเท่านั้นในระบบนิเวศ - องค์กรทางสังคมของมนุษย์ จำเป็นต้องอาศัยปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบธรรมชาติกับองค์กรทางสังคมมนุษย์ มนุษย์จึงจะมีคุณภาพชีวิตที่ดี - สังคมมนุษย์มีอิทธิพลต่อโครงสร้างและการทำหน้าที่ของระบบนิเวศที่มนุษย์เป็นองค์ประกอบ

วิวัฒนาการของมนุษย์ ทำให้มนุษย์เปลี่ยนแปลง 3 ประการสำคัญ - วิวัฒนาการด้านกายวิภาคให้ตัวตั้งตรง ส่งผลต่อความสามารถรับสัญญาณการเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดล้อม การต่อสู้และปรับตัวเพื่ออยู่รอด - สมองใหญ่ขึ้น จาก 800 มิลลิลิตร เป็น 1,500 มิลลิลิตร โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงส่วนอื่น ส่งผลต่อการประดิษฐ์เครื่องมือ จินตนาการ นามธรรม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - พฤติกรรมการเลี้ยงดูลูกที่เกิดใหม่เป็นระยะเวลายาวนาน ก่อให้เกิดการถ่ายทอดข้อมูลความรู้และประสบการณ์

อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมต่อการพัฒนาสังคมมนุษย์ - การปรับตัวทางสังคมวัฒนธรรม เป็นรากฐานของความเป็นไปในสังคมมนุษย์ - มีทฤษฎีพัฒนาการทางวัฒนธรรมที่กล่าวถึงความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอยู่ 2 ทฤษฎีคือ ทฤษฎีการตัดสินโดยสิ่งแวดล้อม ทฤษฎีโอกาสที่จะเป็นโดยสิ่งแวดล้อม

1. ทฤษฎีการตัดสินโดยสิ่งแวดล้อม (Environmental determinism) รูปแบบวัฒนธรรมของมนุษย์จะถูกสร้างและปรับเปลี่ยนโดยปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ เช่น ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ สภาพพื้นที่โดยทั่วไป ดินฟ้าอากาศและทรัพยากรธรรมชาติ

2. ทฤษฎีโอกาสที่จะเป็นโดยสิ่งแวดล้อม (Environmental possibilism) สิ่งแวดล้อมจะทำหน้าที่เสมือนตะแกรง กลั่นกรองสิ่งที่เป็นต้นตอของการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่จะเข้ามาสู่บริเวณนั้น และสิ่งแวดล้อมจะเป็นกรอบกำหนดการพัฒนาทางวัฒนธรรม ปัจจุบันเชื่อกันว่า ทฤษฎีนี้มีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางวัฒนธรรมมากกว่าทฤษฎีแรก

กรณีศึกษา:ระบบกสิกรรมในเขตร้อน - พืชเมล็ด เช่น ข้าว ให้โปรตีนสูง ต้องการสารอาหารจากดินมาก - พืชหัว เช่น เผือก มัน ให้คาร์โบไฮเดรตสูง ต้องการสารอาหารจากดินน้อยกว่า ดังนั้น ปลูกพืชเมล็ด ดินเสื่อมเร็ว ต้องย้ายที่บ่อยกว่าปลูกพืชหัว คนปลูกพืชหัว ต้องหาอาหารโปรตีนจากแหล่งน้ำ

วีดิทัศน์ 7 สารคดี วัฒนธรรมยั่วน้ำลาย ทะเลสาบอินเล พม่า youtu.be/7UrQJ5UjFcw

ประชากร แนวความคิดและทฤษฎีประชากร - ประชากร หมายถึง จำนวนคนทั้งหมด ในพื้นที่แห่งหนึ่ง ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง - ประชากรศาสตร์ (demography) เป็นการศึกษาถึงขนาด การกระจายและองค์ประกอบของประชากร - การเปลี่ยนแปลงประชากร มีผลกระทบต่อ บุคลิกภาพ โครงสร้างสังคมและวัฒนธรรม

แหล่งข้อมูลของประชากร - ได้มาจากการสำมะโน (census) ทำทุก 10 ปี โดยกระทรวงมหาดไทย องค์ประกอบของประชากร - หมายถึง ลักษณะทางสังคมและชีวภาพของประชากร เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ ที่อยู่อาศัย สถานภาพสมรส ขนาดครัวเรือน อาชีพและรายได้

องค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงประชากร - ภาวะเจริญพันธุ์ (fertility) สตรีช่วง 15-49 ปี - อัตราเกิด อัตราตาย อายุขัย - การย้ายถิ่น (migration)

Pattern of population change

สาเหตุของการย้ายถิ่น - ปัจจัยผลัก (push factors) ด้านเศรษฐกิจ เช่น การว่างงาน ค่าครองชีพ ด้านสังคมวิทยา เช่น คุณภาพชีวิต ปัญหาอาชญากรรม ความหนาแน่นของประชากร ด้านคุณภาพของบริการสังคม เช่น การศึกษา - ปัจจัยดึง (pull factors) เช่น มีที่อยู่อาศัยที่ดีขึ้น ความสะดวกในด้านการศึกษาหาความรู้ สภาพภูมิอากาศดี

การเพิ่มและลดของประชากร (population growth) คำนวณได้จาก (B-D)+(I-O) B-D = การเพิ่มของประชากรตามธรรมชาติ = จำนวนคนเกิด-จำนวนคนตาย I-O = การย้ายถิ่นสุทธิ = คนย้ายเข้า-คนย้ายออก

ประวัติศาสตร์และทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงประชากร 6,000 ปีก่อนคริสตกาล ประชากรโลกมี <50 ล้าน ปี 1750 มี 1 พันล้านคน ปี 1930 มี 2 พันล้านคน ปี 1974 มี 4 พันล้านคน ปี 1987 มี 5 พันล้านคน ปี 2017 ประมาณ 7.4 พันล้าน คาดว่าปี 2025 มีประมาณ 8 พันล้าน ?

ประวัติศาสตร์และทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงประชากร Thomas Malthus (1766-1834) กล่าวว่า ผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มแบบเลขคณิต (1 2 3 4 5) ประชากรเพิ่มแบบเรขาคณิต (1 2 4 8 16 32) สาเหตุเกิดจาก ไม่ใช้เทคโนโลยีช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และไม่คุมกำเนิด

ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงประชากร สัมพันธ์กับเทคโนโลยี มี 3 ขั้น สังคมเกษตรก่อนยุคอุตสาหกรรม ประชากรเพิ่มช้า เพราะอัตราการเกิดสูง ต้องการแรงงานภาคเกษตรกรรม อัตราการตายก็สูง มาตรฐานการดำรงชีพต่ำ การแพทย์ไม่ก้าวหน้า เริ่มสังคมอุตสาหกรรม อัตราการเกิดสูง ผลิตอาหารได้ดี ควบคุมโรคได้ดี เกิดแนวคิดของ Malthus สังคมอุตสาหกรรมเต็มที่ อัตราการเกิดต่ำ คุมกำเนิดแพร่หลาย สตรีออกทำงานนอกบ้าน มีบุตรน้อย อัตราการตายต่ำ การแพทย์ก้าวหน้า

วีดิทัศน์ 8 Spirit of Asia : การอพยพครั้งสุดท้าย youtu.be/2IbxwZWwcYk การเคลื่อนย้ายอพยพทำให้เกิดการไหลบ่าทาง วัฒนธรรมจากถิ่นหนึ่งสู่อีกถิ่นหนึ่ง นั่นทำให้มนุษย์เรียนรู้ที่ จะปรับตัวจาก สิ่งที่มีอยู่ให้เข้ากับสิ่งที่มาใหม่ ราชาสถาน ตั้งอยู่บนเส้นทางการศึกและการค้าโบราณ ที่มีรอยเท้าของผู้คนมากมายเดินทางมาแสวงหา ครอบครอง และอยู่อาศัยทำกิน กลุ่มชนเผ่าต่างๆมีส่วนในการสร้างเรื่องราวในประวัติศาสตร์ร่วมกัน และผู้ที่มีอำนาจเหนือกว่าเท่านั้นที่จะเป็นผู้กุมชะตากรรมของเมือง ประชากรที่เพิ่มมากขึ้นต่างเข้ามาจับจองพื้นที่ แย่งชิงทรัพยากร และทำลายแหล่งธรรมชาติ จนในที่สุด ทำให้เรามีทางเลือกน้อยลง นี่อาจเป็นการอพยพครั้งสุดท้ายของทุกชีวิตที่ไม่สามารถเลือกจะอยู่หรือไปได้ เหมือนก่อน เพราะผืนทะเลทรายแห่งนี้ คือ บ้านหลังสุดท้ายที่ต้องรักษาไว้